พญ.อัญชลี ชัยนวล สูตินรีแพทย์ อนุสาขามะเร็งนรีเวช โรงพยาบาลนครพิงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และ การติดตามสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบ
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
การบันทึกข้อมูลการคัดกรองโรคมะเร็ง
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นาย กองทัพ ปรีเดช เลขที่1ก ชั้นม.5/1
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
Anchalee Chainual, MD. Gynecologic oncology Nakornping hospital
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ขดลวดพยุงสายยาง.
ศาสนาเชน Jainism.
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
นายสมนึก ยอดใส ตำแหน่ง ครูชำนาญพิเศษ
โรงพยาบาลหนองบัวลำภู
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พญ.อัญชลี ชัยนวล สูตินรีแพทย์ อนุสาขามะเร็งนรีเวช โรงพยาบาลนครพิงค์ Cervical Cancer มะเร็งปากมดลูก พญ.อัญชลี ชัยนวล สูตินรีแพทย์ อนุสาขามะเร็งนรีเวช โรงพยาบาลนครพิงค์

เป็น Fibromuscular tissue ส่วนล่างสุดของมดลูก ยาวประมาณ 2-3 cm. ปากมดลูก (Cervix) เป็น Fibromuscular tissue ส่วนล่างสุดของมดลูก ยาวประมาณ 2-3 cm. เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2.5 cm. อยู่ติดกับช่องคลอดส่วนบน

แสดงลักษณะทั่วไปทางกายภาพ ตำแหน่ง ของ pelvic organs ตำแหน่งที่เกิดมะเร็งปากมดลูก

Cervical Cancer of Thailand Chiang Mai = 25.6 Lampang = 23.6 Khon Kaen = 15.0 Bangkok = 20.7 Songkhla = 16.1 THAILAND = 19.5/100,000

ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ใน ประเทศกำลังพัฒนา มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับสองในมะเร็งของเพศหญิง รองจากมะเร็งเต้านม พบมากในช่วงอายุ 30 – 50 ปี ประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ใน ประเทศกำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทย มะเร็งปากมดลูกพบมากที่สุดใน ภาคเหนือของประเทศ มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถป้องกันได้และสามารถ ตรวจคัดกรองหาความผิดปกติได้ก่อน ซึ่งการรักษาได้ผลดี

สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก สาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูกคือ : การติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแพปพิลโลมา (Human Papilloma virus) หรือ เอชพีวี (HPV) บริเวณอวัยวะเพศ โดยเฉพาะบริเวณปากมดลูก : HPV ที่พบว่าเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกมาก ที่สุดคือชนิดที่ 16 และ 18

Human Papilloma Virus Double-stranded DNA 55 nm diameter 8,000 base-pair genome 72 capsomers 8 genes (E1,E2,E4,E5,E6,E7,L1,L2)

1. ชนิดความเสี่ยงสูง หรือชนิดก่อมะเร็งได้แก่สายพันธุ์ ปัจจุบันพบ HPV มากกว่า 100 สายพันธุ์ มีประมาณ 40 สายพันธุ์ ที่ก่อให้เกิดการติดเชื้อของเนื้อเยื่อบริเวณ ano–genital area แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดความเสี่ยงสูง หรือชนิดก่อมะเร็งได้แก่สายพันธุ์ HPV 16,18,31,33,35,39,45,51,52,56,58,59,68 และ 82 โดยสายพันธุ์ที่ก่อปัญหามากที่สุดคือ HPV 16 และรองลงมาคือ HPV 18 2. ชนิดความเสี่ยงต่ำ ก่อให้เกิดหูดหงอนไก่ (Genital Warts) บริเวณ ano–genital ได้แก่สายพันธุ์ HPV 6,11,40,42,43,44,54,61,72,73 และ 81 ที่พบบ่อยคือ HPV 6 และ HPV 11

Cause of Cervical Cancer Persistent Infection of Oncogenic HPV (16,18,31,33,45,etc) Oral pills Multiparity Multiple sex partners (male & female) Smoking Early age of S.I. Immunosuppression Co-factors

ปากมดลูกปกติ

มะเร็งปากมดลูก Key Point From IARC, 2003.1 Key Point Invasive cervical cancer is the stage of disease that follows CIN 3. In this stage, neoplastic epithelial cells have invaded the stroma underlying the epithelium. Background These colposcopic findings of invasive cervical cancer demonstrate exophytic raised lesions with raised and rolled out margins and the appearance of atypical vessels.1 The colposcopy images on the right show coarse and irregular mosaic lesions indicative of invasive carcinoma of the cervix. Photos and description courtesy of Dr. J. Monsonego. Reference 1. Sellors JW, Sankaranarayanan R, eds. Colposcopy and Treatment of Cervical Intraepithelial Neoplasia. A Beginner’s Manual. Lyon, France: International Agency for Research on Cancer; 2003.

ระยะของมะเร็งปากมดลูก แบ่งได้ออกเป็น ระยะก่อนเป็นมะเร็ง (Precancerous lesion) มะเร็ง (Cancer)

ระยะก่อนเป็นมะเร็ง หมายถึง มีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ปากมดลูกที่ผิดปกติ (Dysplasia) ที่บริเวณผิวของปากมดลูก ซึ่งแบ่งเป็น Mild dysplasia (CIN I, LSIL) Moderate dysplasia (CIN II, HSIL) Severe dysplasia (CIN III, HSIL) ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 10-15 ปี จึงจะกลายเป็นมะเร็งปากมดลูก ระยะก่อนเป็นมะเร็งสามารถรักษาได้

- ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก มะเร็งระยะลุกลาม แบ่งออกเป็น 4 ระยะย่อย คือ - ระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก - ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูก และ/หรือผนังช่องคลอดส่วนบน - ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปที่ด้านข้างของเชิงกรานและ/ หรือผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภาวะไตบวมน้ำ - ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปที่กระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมน้ำเหลืองนอกเชิงกราน เป็นต้น

การรักษามะเร็งปากมดลูก แบ่งวิธีการรักษามะเร็งปากมดลูกตามระยะของมะเร็งได้ดังนี้ 1. ระยะก่อนมะเร็งหรือระยะก่อนลุกลาม รักษาได้หลายวิธีได้แก่ - การตรวจติดตามอย่างใกล้ชิด รอยโรคขั้นต่ำบางชนิด สามารถหายไปได้เองภายใน 1-2 ปี ภายหลังการตัดเนื้อตรวจ - การตัดปากมดลูกด้วยห่วงไฟฟ้า - การจี้ปากมดลูกด้วยความเย็น - การจี้ด้วยเลเซอร์ - การตัดปากมดลูกออกเป็นรูปกรวยด้วยมีด

2. ระยะลุกลาม การเลือกวิธีรักษาขึ้นกับโรคประจำตัวของผู้ป่วย ระยะของมะเร็ง และความพร้อมของโรงพยาบาลหรือแพทย์ผู้ดูแลรักษา 2.1 ระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 บางราย รักษาโดยการตัดมดลูก ออกแบบกว้างร่วมกับการเลาะต่อมน้ำเหลืองเชิงกรานออก 2.2 ระยะที่ 2 ถึงระยะที่ 4 รักษาโดยการฉายรังสีร่วมกับการให้ ยาเคมีบำบัด

การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 1. VIA (การตรวจปากมดลูกด้วยน้ำส้มสายชู) 2.Conventional Papanicolaou test (Pap smear) 3. Liquid-based cytology 4. Colposcopy 5.HPV test 6. Self Cervical Cancer Screening (HPV)

VIA – Negative

VIA – Positive

เซลล์วิทยาอิงของเหลว (liquid-based cytology) Pap smear and Liquid-base cytology Pap Smear แบบมาตรฐาน ความไว 50% ผลลบลวง 15-30% ความไว 75-85% ผลลบลวง 2% เซลล์วิทยาอิงของเหลว (liquid-based cytology)

Pap smear แสดงการใส่เครื่องมือตรวจ และลักษณะการตรวจ ภายใน และตรวจหามะเร็งปากมดลูก

Liquid Based Cytology (LBC) a new way of preparing cervical samples for examination in the laboratory

การเก็บตัวอย่างเซลล์วิทยา อิงของเหลว

Comparison between Thin Prep and Conventional Pap

ข้อดีของเซลล์วิทยาอิงของเหลว 1. เก็บเซลล์ตัวอย่างในน้ำยารักษาสภาพเซลล์ 2. เซลล์เรียงตัวเป็นระเบียบชั้นเดียว 3. ไม่มีมูก เลือด เนื้อเยื่อตายมาบังเซลล์ 4. ทำซ้ำได้ 5-10 ครั้ง 5. การแปลผลใช้เวลาไม่นาน (3 - 6 นาที)

Colposcope

Detect high risk HPV HPV 16, 18 And 12 High risk types Tests for high risk HPV DNA are now available. Signal-amplified technique: Hybrid Capture technology (HC) can detect 5000 copies of viruses/sample. Target-amplified technique: The Polymerase Chain Reaction (PCR)

Self Cervical Cancer Screening (HPV)

การเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองเพื่อส่งตรวจหา HPV

Screening Cervical Cancer Update in Prevention and Screening Cervical Cancer

Vaccine HPV ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูก วัคซีนที่ใช้กันอยู่ในตอนนี้มี 2 ชนิด คือ วัคซีน 4 สายพันธุ์ (Quadrivalent vaccine:6,11,16,18) วัคซีน 2 สายพันธุ์ (Bivalent vaccine:16,18)

ประสิทธิภาพของวัคซีน มีประสิทธิภาพสูงโดยถ้าฉีดในผู้ที่ไม่เคยติดเชื้อ HPV มาก่อน หรือหญิงสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก วัคซีนสามารถป้องกันการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ถึงร้อยละ 90-96 ประสิทธิภาพลดลงในกลุ่มที่เคยติดเชื้อหรือกำลังติดเชื้อ HPV อยู่

การฉีดวัคซีน 1. ควรฉีดในเด็กสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ 1.       ควรฉีดในเด็กสาวที่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ 2.       อายุที่สมควรฉีดคือ 9-26 ปีในเพศหญิง และอายุ 9-17 ปี ในเพศชาย 3.       สำหรับสตรีที่เคยมีเพศสัมพันธ์แล้วควรตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกก่อน ถ้าผลปกติสามารถฉีดวัคซีนได้ ถ้าผลผิดปกติให้ดูแลรักษาตามมาตรฐานและฉีดวัคซีนได้แต่ ประสิทธิภาพของวัคซีนจะลดลง 4.      ฉีด 3 ครั้งเข้ากล้ามเนื้อ เดือนที่1 เดือนที่2 และเดือนที่6 5.       วัคซีนสามารถป้องกันการติดเชื้อ HPV ได้นานอย่างน้อย 10 ปี 6.       การฉีดวัคซีนเพื่อกระตุ้นซ้ำ (booster) ยังไม่มีข้อมูลว่าสมควรฉีดเมื่อไหร่ 7.       ควรเลี่ยงการฉีดวัคซีนในผู้ที่มีอาการป่วยอยู่ 8.       ห้ามฉีดวัคซีนในผู้ที่มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน

THANK YOU