การประชุมเชิงปฏิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อเสนอ การพัฒนาระบบควบคุมและป้องกันโรค
Advertisements

ไม่แสดงให้เห็นว่ามีแนวคิดในการปรับปรุง PMQA Learning ระดับ 0 No evidence.
1 August 2015 ครั้งที่ 2. 2 Amway Career Camp วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นิสิต นักศึกษาได้ตระหนักถึง ความสำคัญของการเตรียมพร้อมในการก้าวสู่ ชีวิตการทำงาน.
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
บทสรุป “เทคนิคการบริหารองค์กร ในมุมมองของผู้บริหาร” จาก... นายแพทย์เสรี หงษ์หยก รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายธวัชชัย ไทยเขียว อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็ก.
Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม. Heart ประเด็นการนำเสนอ  1. นิยามศัพท์  2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ  3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ  4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
วิธีการแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลด้านขนาดสินค้า ในระบบ Seller Center
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
แรงในชีวิตประจำวัน.
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
ประเทศไทยกับอาเซียนและ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
หน้าจอหลักของ บก. เข้าสู่โปรแกรมที่
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
UNDO ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด
อนาคต ASEAN กับนักบริหาร ระบบสาธารณสุขมืออาชีพ
Line Manager is Leader.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
บรรยายครั้งที่ 6 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
การออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
แนวทางการปฏิบัติงานของเหล่ากาชาดจังหวัด และกิ่งกาชาดอำเภอ
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
แนวโน้มกรุงเทพเมืองใหม่จากแลนด์มาร์คใหม่
โดย การอภิปราย “แนวทางการปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาตฯ (รง.4)”
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
เส้นขนาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพและข้อเสนอเพื่อการ พัฒนา หลักสูตรและการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวิชาชีพ การพยาบาล” วันที่ 25 - 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ห้องมิราเคิลแกรนด์ บอลรูม ชั้น 4 โรงแรมมิราเคิล แก รนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ ผู้นำเสนอ อาจารย์ ดร.ประดิษฐ์พร พงศ์เตรียง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

บทบาทพยาบาล ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ ให้บริการเชิงรุก โดยเข้าใจผู้ใช้บริการ โดยเน้น client center พัฒนางานประจำสู่งานวิจัยโดยให้การสนับสนุนเข้าไปมีส่วนร่วมทำวิจัยและใช้งานวิจัย สร้างเครือข่ายวิชาชีพในการปรับระบบบริการสุขภาพ ขยายผลความรู้ของการปรับระบบบริการสุขภาพให้แก่หน่วยงานอื่นๆ เสริมสร้างพลังอำนาจตนเองและครอบครัว ชุมชนและเครือข่าย

บทบาทพยาบาล ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ กระตุ้นให้ชุมชนทำงานร่วมกันในการค้นหาปัญหา ร่วมกันประเมิน วิเคราะห์และสะท้อนข้อมูลให้กับชุมชนเพื่อนำไปสู่นโยบายสาธารณะ ขับเคลื่อน/นโยบาย/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปรับระบบบริการสุขภาพ รวมทั้งตอบสนองนโยบายของประเทศ สนับสนุนกิจกรรมการปรับระบบบริการสุขภาพ ควบคุมและกำกับติดตามกิจกรรมการปรับระบบบริการสุขภาพ พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วยและให้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือแก่ผู้ใช้บริการได้

บทบาทพยาบาล ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ เป็น role modelแบบอย่างที่ดีในเรื่องการปรับระบบบริการสุขภาพ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้สอน ผู้ชี้แนะ ผู้ประคับประคองและผู้ประสานงาน เป็นผู้รู้(รู้เขารู้เรา)และเป็นผู้ตามที่ดี เป็นที่ปรึกษา ทั้งนี้บทบาทของพยาบาลในการปรับระบบบริการสุขภาพจะมีส่วนที่คล้ายคลึงกันในสถานประกอบการทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ สมรรถนะที่ต้องการของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ มีความคิดเชิงระบบ มีทักษะการสื่อสารที่ดี มีทักษะการทำงานเป็นทีม มีทักษะการในการบริหารความขัดแย้ง มีความคิดสร้างสรรค์สามารถคิดค้นนวัตกรรมทางสุขภาพได้ มีทักษะการการสอนและการถ่ายทอดความรู้ เป็นนักวางแผนที่ดี

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ สมรรถนะที่ต้องการของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ มีการบริหารจัดการบนความหลากหลาย เป็นนักบริหารจัดการ มีทักษะการบริหารจัดการ (การวางแผน นำไปปฏิบัติ ประเมินผลและนำผลมาพัฒนาปรับปรุง) กล้าแสดงออกทั้งในกรณีที่เห็นต่าง/เหมือน เป็นนักลอปบี้ lobbyistอย่างเป็นทางการ มีทักษะมองหาช่องทางเพื่อนำเสนอความต้องการของวิชาชีพได้ มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการเลือกใช้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ต้องมีความสามัคคี มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน Unity (พยาบาลไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน หายใจเป็นหนึ่งเดียวกัน)

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ สมรรถนะที่ต้องการของพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพ มีทักษะด้านการทำวิจัย มีทักษะในการให้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพ เข้าใจยุทธศาสตร์ Ottawa charter อย่างถ่องแท้โดยเฉพาะการปรับระบบสุขภาพและเข้าใจวิถีชุมชน ทักษะการเจรจาต่อรองเรียกร้องสิทธิที่ควรจะได้ มีจิตอาสา / จิตสาธารณะให้บริการด้วยหัวใจและคำนึงถึงความเป็นมนุษย์

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ ปัจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาล ปัจจัยส่วนบุคคล การได้รับการพัฒนาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ความตั้งใจ มุ่งมั่นและการมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ เศรษฐฐานะของแต่ละบุคคล เช่นบางคนต้องทำงานนอกเวลา เพื่อให้รายได้เพิ่มจึงไม่มีการพัฒนาตนเอง

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ ปัจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาล ปัจจัยด้านองค์กร นโยบายและการสนับสนุนของผู้นำองค์กร โครงสร้างองค์กรมีความชัดเจน งบประมาณพอเพียง องค์กรมีระบบสนับสนุน มีการจูงใจ ให้การเสริมแรง ค่าตอบแทนที่เหมาะสม การสนับสนุนขององค์กรวิชาชีพ ภาระงานของพยาบาลโดยเฉพาะบทบาทอันที่ไม่ใช่การดูแลผู้รับบริการโดยตรง เช่น งานเอกสารต่างๆ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ ปัจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาล ปัจจัยด้านองค์กร (ต่อ) ความร่วมมือของสถาบันการศึกษา ความร่วมมือของเครือข่ายบริการสุขภาพและองค์กรอื่นๆ กฎระเบียบข้อบังคับที่ไม่เอื้อต่อการทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ความรัก ความสามัคคี การเกื้อกูลกันในองค์กร

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการ ปัจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาสมรรถนะของพยาบาล ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร การเปลี่ยนแปลงของปัญหาสุขภาพ เช่น โรคอุบัติใหม่ การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจสังคม เช่น AEC ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและข้อมูล บันไดความก้าวหน้าของพยาบาลวิชาชีพ (Career Ladder)

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ข้อที่ ข้อเสนอเชิงนโยบาย สำหรับสถาบันการศึกษา  1 ปรับหลักสูตรทุกหลักสูตรให้สอดแทรกเนื้อหาด้านการสร้างเสริมสุขภาพ และเน้นการพัฒนาสมรรถนะการสร้างเสริมสุขภาพ  2 จัดหลักสูตรระยะสั้น เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ  3 ในการเรียนการสอนควรเน้นให้นักศึกษาเข้าใจและเรียนรู้วิถีชุมชน  4 มีหลักสูตรเฉพาะทางการสร้างเสริมสุขภาพ 4 เดือน  5 มีหลักสูตรออนไลน์โดยใช้เนื้อหาของ 7 ชุดการเรียนรู้

ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ข้อที่ ข้อเสนอเชิงนโยบาย (ต่อ) สำหรับองค์กรวิชาชีพ  1 สภาการพยาบาลควรกำหนดเนื้อหาด้านการสร้างเสริมสุขภาพในการต่อ อายุใบประกอบวิชาชีพ  2 สภาการพยาบาลควรกำหนดหน่วยกิตขั้นต่ำในเนื้อหาเกี่ยวกับสร้างเสริม สุขภาพอย่างชัดเจน  3 องค์กรวิชาชีพควรมีรางวัลสำหรับพยาบาลที่ทำงานโดดเด่นในการสร้าง เสริมสุขภาพ ซึ่งการพิจารณารางวัล ควรมีการเยี่ยมชมผลงานพื้นที่ ด้วย 4 ปรับวิธีการตรวจสอบการประกันคุณภาพโรงพยาบาลที่เน้นเอกสาร เพื่อให้พยาบาลมีเวลาทำงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากขึ้น   สำหรับผู้บริหารองค์กร 1 ส่งเสริมความเข้าใจและกำหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจนการสร้างเสริม สุขภาพทุกระดับ 2 ให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสม