ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับโลก
สภาพภูมิอากาศ/ภูมิศาสตร์ เปลี่ยนแปลงมากมาย ยุคนี้มีแมลงมาก แมลงปอยักษ์(ปีกกว้าง 2ฟุต) ยุคไดโนเสาร์ครองโลก ปลายยุคไดโนเสาร์เริ่มสูญพันธุ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมถือกำเนิด
ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีป (Continental Drift Theory) เมื่อประมาณ 220 ล้านปีมาแล้วโลกของเรามีพื้นทวีปใหญ่เพียงทวีปเดียวเท่านั้น เรียกว่า “แพงเจีย” (Pangaea) ซึ่งแปลว่า “All Land” หรือ “แผ่นดินทั้งหมด” แต่เมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ก็เริ่มขยับเคลื่อนที่แยกออกจากกันไปเลย จนปรากฎเป็นทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบัน หลักฐานที่เป็นข้อมูลสนับสนุนทฤษฎี 1. หลักฐานสภาพรูปร่างของทวีป จากรูปร่างของทวีปต่าง ๆ ที่สวมเข้ากันได้อย่างพอเหมาะ โดยเฉพาะทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้กับทวีปแอฟริกา 2. หลักฐานสิ่งมีชีวิต จากการพบสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ชนิดเดียวกันที่อยู่ในแถบทวีปทั้ง 2 ที่อยู่ด้านเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เป็นการแสดงว่าเดิมทวีป 2 ทวีปนี้เคยเชื่อมติดกันมาก่อน 3. หลักฐานการเคลื่อนที่ของเกาะกรีนแลนด์ ในสมัยนั้นนักธรณีวิทยาได้ศึกษาพบว่า เกาะกรีนแลนด์กำลังเคลื่อนที่ อัลเฟรด เวเจเนอร์จึงได้อ้างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่าสอดคล้องกับทฤษฎี อัลเฟรด เวเจเนอร์
แผ่นเปลือกโลก 1. แผ่นแอฟริกัน : ครอบคลุมทวีป แอฟริกา เป็นแผ่นทวีป 1. แผ่นแอฟริกัน : ครอบคลุมทวีป แอฟริกา เป็นแผ่นทวีป 2. แผ่นแอนตาร์คติก: ครอบคลุมทวีปแอนตาร์คติก เป็นแผ่นทวีป 3. แผ่นออสเตรเลียน: ครอบคลุม ออสเตรเลีย (เคยเชื่อมกับแผ่นอินเดียนเมื่อประมาณ 50-55 ล้านปีก่อน) เป็นแผ่นทวีป 4. แผ่นยูเรเซียน: ครอบคลุมทวีปเอเชียและยุโรป เป็นแผ่นทวีป 5. แผ่นอเมริกาเหนือ: ครอบคลุมทวีปอเมริกาเหนือและทางตะวันออกเฉียงเหนือของไซบีเรีย เป็นแผ่นทวีป 6. แผ่นอเมริกาใต้: ครอบคลุมทวีปอเมริกาใต้ เป็นแผ่นทวีป 7. แผ่นแปซิฟิก: ครอบคลุมมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นแผ่นมหาสมุทร
5 4 7 1 6 3 2
สัณฐานของโลก โลกมีรูปทรงสัณฐานเกือบกลม โดยเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงกลมจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ยาวประมาณ 12,714 กิโลเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นศูนย์สูตรยาวประมาณ 12,757 กิโลเมตร จุดสูงสุดของโลกอยู่บริเวณเทือกเขาหิมาลัยที่ยอดเขาเอเวอเรสต์ จุดลึกสุดของพื้นมหาสมุทรอยู่ที่ร่องลึกมาเรียนา 12,757 12,714
ตำแหน่งที่ลึกที่สุดในมหาสมุทร คือ ตำแหน่งลึกชาเลนเจอร์ (Challenger Deep) ในร่องลึกมาเรียน่า (Mariana Trench) โดยตำแหน่งนี้อยู่ลึกต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 10,924 เมตร (35,840 ฟุต) ถ้าเอาเทือกเอเวอเรสต์ (Mount Everest) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่สูงที่สุดในโลกไปวางไว้ในบริเวณนั้นก็จะถูกน้ำท่วมสูงหลายกิโลเมตรเลยทีเดียว คำว่าตำแหน่งลึกชาเลนเจอร์นั้นได้มาจากชื่อเรือสำรวจชาเลนเจอร์ 2 ของสหราชอาณาจักร (British survey ship Challenger II) ซึ่งสำรวจพบจุดลึกนี้ในปี 1951
1 2 3 โครงสร้างของโลก
เปลือกโลก(Crust) เปลือกโลกประกอบด้วย 2 ชั้นย่อย 1. ชั้นหินไซอัล ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและอะลูมินัมเป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งพบทั่วไปบริเวณเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีป 2. ชั้นไซมา ประกอบด้วยธาตุซิลิคอนและแมกนีเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก พบทั่วไปบริเวณเปลือกโลกที่เป็นพื้นสมุทรตอนล่างของเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีปและบริเวณรอยแตกของเปลือกโลกที่เป็นภูเขาไฟ ไซอัล ไซมา
เปลือกโลกชั้นใน (ชั้นแมนเทิล) ธรณีภาค หินหนืดละลาย(แมกม่า)
แก่นโลก(Core) 1. แก่นโลกชั้นนอก ( Out core ) ประกอบด้วยหินเหลวพวกเหล็กมี ความหนาแน่นสูง 2. แก่นโลกชั้นใน ( Inner core) ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิล ในสภาพที่ร้อนจัด อยู่ในสถานะ ของแข็งเนื่องจากมีความหนาแน่นสูง
ทบทวนความรู้โครงสร้างของโลก 1. ชั้นใดของโลกที่มีหินหนืดเป็นส่วนประกอบ ? ก. เปลือกโลกชั้นล่าง แมนเทิล ข. แมนเทิล แก่นโลกชั้นบน ค. แมนเทิล แก่นโลกชั้นล่าง ง. แก่นโลกเท่านั้น 2. หินไซอัลเป็นหินที่ประกอบด้วยธาตุใดและอยู่ในชั้นใดในโลกของเรา? ธาตุซิลิกาและอะลูมินา อยู่ใน เปลือกโลกส่วนบน ธาตุซิลิกาและอะลูมินา อยู่ใน เปลือกโลกส่วนล่าง ธาตุซิลิกาและแมกนีเซีย อยู่ใน เปลือกโลกส่วนบน ธาตุซิลิกาและแมกนีเซีย อยู่ใน เปลือกโลกส่วนล่าง
3. ชั้นที่ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิเกิลถูกอัดตัวกันแน่นจนกลายเป็นของแข็งคือชั้นใด ? เปลือกโลก ข. แมนเทิล ค. แก่นโลก ง. เมนทอล 4. ส่วนที่เป็นทวีปต่าง ๆ จะอยู่ชั้นใด ? เปลือกโลก ข. แมนเทิล ค. แก่นโลกชั้นใน ง. แก่นโลกชั้นนอก 5. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับชั้นแมนเทิล ? มีหินอัคนีบางชนิด ข. ประกอบด้วยธาตุ เหล็ก ซิลิกอน และอะลูมิเนียม มีอุณหภูมิและความดันสูง ง. เป็นของแข็ง เคลื่อนที่ไม่ได้ 6. เวเนเจอร์ได้กล่าวถึงโลกในสมัยก่อนว่าเป็น "แพงกีอา" ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีของเขา ? ก. รูปร่างของทวีปต่าง ๆ สวมเข้ากันได้อย่างพอเหมาะ ข. การค้นพบว่าเกาะกรีนแลนด์มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา ค. แผ่นเปลือกโลกสมัยก่อนเคยแตกออกเป็นแผ่นเล็ก ๆ จำนวนมาก ง. แพงกีอาค่อย ๆ แยกตัวกลายเป็นทวีปในปัจจุบัน
ส่วนประกอบของเปลือกโลก ธาตุ ออกซิเจน ซิลิคอน
แร่ชนิดต่าง ๆ ที่พบบริเวณเปลือกโลกสามารถจำแนก 2. แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แร่ชนิดต่าง ๆ ที่พบบริเวณเปลือกโลกสามารถจำแนก ตามการกำเนิดได้เป็น 2 ประเภทคือ แร่ปฐมภูมิ ได้แก่ แร่ที่เกิดจากการเย็นตัวของสารหลอมเหลวภายในโลกคือ หินหนืด หรือลาวา ( พบในหินอัคนี ) Feldspar Mica Quartz
แร่ทุติยภูมิ แร่ที่เกิดจากการผุพังสลายตัว หรือแปรสภาพจากแร่ปฐมภูมิ เช่น เมื่อแร่เฟลด์สปาร์และแร่ไมกาผุพังสลายตัว ก็ได้เป็นแร่ดินเหนียว การผุพังสลายตัวของแร่ปฐมภูมิอื่น ๆ
หิน ชั้นหินแข็งเป็นส่วนประกอบหลักของโลก หินแต่ละประเภทมีความแตกต่างกัน วัสดุต้นกำเนิดหิน กระบวนการเกิด สภาพแวดล้อม/ระยะเวลาการเกิด
หินตะกอน
หินอัคนีที่เย็นตัวใต้ผิวโลกในระดับลึก (หินอัคนีแทรกซอน) 3. หิน 3.1 หินอัคนี เกิดขึ้นเมื่อวัตถุหลอมละลายภายในโลกเย็นลงและแข็งตัวจากสภาพที่เป็นหินหนืดจนกลายเป็นหินแข็ง หินอัคนีภายใน หินอัคนีภายในจะค่อย ๆ เย็นลงทีละน้อย จึงมีระยะเวลานานพอที่จะเกิดผลึก หินอัคนีที่เย็นตัวใต้ผิวโลกในระดับลึก (หินอัคนีแทรกซอน) Gabbro Granite
อัคนีที่เย็นตัวที่ผิวโลก (หินอัคนีพุ ) หินอัคนีภายนอก หินอัคนีที่เย็นตัวภายนอกที่ผิวโลกอุณหภูมิจะลดลงอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใดเมื่อสัมผัสกับอากาศที่ผิวโลก แร่ประกอบหินในลาวาไม่สามารถเกิดเป็นผลึกได้ทัน จึงมักปรากฏเป็นหินที่มีเนื้อแบบแก้วหรือที่เรียกว่าแก้วธรรมชาติ ผลของการเย็นตัวอย่างรวดเร็วจึงทำให้เกิดหินแบบไม่มีผลึก หรือผลึกเล็กมาก บางกรณีจะพบหินเนื้อละเอียด ผสมกับเนื้อแก้ว
Andesite Pumice
สามารถจำแนกตามกระบวนการเกิดได้ 3 ประเภท เกิดจากชิ้นส่วนเดิมของหิน 3.2 หินตะกอน สามารถจำแนกตามกระบวนการเกิดได้ 3 ประเภท เกิดจากชิ้นส่วนเดิมของหิน เกิดจากกระบวนการทางเคมี เกิดจากอินทรียสาร เกิดจากหินเดิมถูกกัดเซาะ ชิ้นส่วนตะกอนถูกพัดพามาทับถมจนเกิดหินขึ้น เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของแร่ที่ตกตะกอนทางเคมีจากสารละลายใน แหล่งน้ำรวมถึงพวกที่เกิดจากการระเหยของน้ำ ทำให้สารละลายเข้มข้นมาก เกิดจากการทับถมของซากพืชและซากสัตว์และมีการเชื่อมตัวจนแข็งเป็นหิน
3.3 หินแปร หินแปรเป็นหินที่แปรสภาพมาจากหินเดิม โดยอิทธิพลของความร้อนและความกดดันภายในโลก แรงดันของหินหนืดที่พุ่งตัวขึ้นสู่ผิวโลก การแปรสัมผัส การแปรภูมิภาค ความร้อนของหินหนืดและสารละลายที่ผสมอยู่มีผลทำให้หินข้างเคียง เปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะบริเวณที่สัมผัสและบริเวณใกล้เคียงกับบริเวณที่สัมผัส หากกระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 1,000 ตารางกิโลเมตร มีความลึกเกินกว่า 100 เมตร
ส่วนประกอบของดิน
ส่วนประกอบของดิน ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ 1.อนินทรีย์วัตถุ แร่ หิน ที่ผุพัง ธาตุ : ออกซิเจน-ซิลิกอน พืช : คาร์บอนไฮโดรเจน-ออกซิเจน-ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัส
2.อินทรีย์วัตถุ 3.น้ำในดิน สิ่งมีชีวิตในดิน การสลายของสิ่งมีชีวิต(ฮิวมัส) สิ่งมีชีวิตในดิน บริเวณป่า-ทุ่งหญ้า-ดินพรุ มีอินทรีวัตถุมาก 3.น้ำในดิน น้ำอิสระ : น้ำที่แทรกอยู่ในช่องว่างของเนื้อดิน น้ำซับ : น้ำที่อยู่บนผิวของอนุภาคดินและซึมซับดินจนชุ่มชื้น น้ำเยื่อ : น้ำที่เคลือบที่ผิวอนุภาคดิน
ปัจจัยสร้างดินและการเปลี่ยนแปลงในดิน ปัจจัยที่ร่วมกันในการสร้างดิน 5 ประการ ได้แก่ ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต วัตถุต้นกำเนิดดิน ภูมิประเทศ และระยะเวลา
การเปลี่ยนแปลงในดิน การเพิ่มเติม การสูญเสีย การแปรสภาพ และการเคลื่อนย้าย
การจำแนกดิน ดินโซนัล เป็นดินที่จำแนกตามเขตภูมิอากาศ และพืชพรรณของโลก แบ่งออกเป็น 10 เขต ดินอินทราโซนัล เป็นดินที่เกิดในเขตภูมิประเทศเฉพาะแห่ง เช่น เกิดในแอ่ง ทะเลสาบ และในพรุน้ำขัง ดินอะโซนัล เป็นดินที่เกิดขึ้นไม่จำกัดเขต แต่เกิดขึ้นจากกระบวนการเฉพาะอย่าง เช่น ดินตะกอนน้ำพา ดินลมหอบ ดินภูเขาไฟ เป็นต้น
ไม่มีการสะสมของอินทรีย์ หน้าตัดดิน ป่า-สีคล้ำ พื้นที่เกษตร เหล็กออกไซด์สะสม ไม่มีการสะสมของอินทรีย์