อันตรายที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
Nickle.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
แมกนีเซียม (Magnesium).
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ผัก.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
ผลร้ายจากยาเสพติด 1. ต้องการเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. เกิดความต้องการเสพยาอย่างรุนแรงตลอดเวลา 3. เมื่อไม่ได้เสพจะทำให้เกิดอาการ.
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
ระดับความเสี่ยง (QQR)
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
การใช้ประโยชน์จากแมลง
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
Ernest Rutherford.
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
มลภาวะของอากาศ(Air pollution)
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อันตรายที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 2/13/2018 อันตรายที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม 5/22/2106

กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม แบบรายงาน 506/2สำนักระบาดวิทยา โรคปอดและทางเดินหายใจ (Lung and Respiratory diseases) 4 โรคเหตุจากสภาวะทางกายภาพ (Physical Hazard) โรคผิวหนัง (Skin diseases) 3 โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal diseases) 2 พิษจากสัตว์ (Toxic effect of contact with venomous animals) 1 พิษจากพืช (Toxic effect of contact with plants) พิษโลหะหนัก (Heavy metal poisoning) พิษสารระเหยและตัวทำละลาย (Toxic effect of solvents) พิษจากก๊าซ (Toxic effect of gas and vapor poisoning พิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมี อื่น ๆ (Toxic effect of pesticides and other chemical การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

1.โรคปอดและทางเดินหายใจ (Lung and Respiratorydiseases) ปอดอักเสบจากการทำงาน ที่มีสาเหตุจาก การสูดหายใจเอาฝุ่นละอองต่างๆ เข้าไป (pneumoconiosis)   การหายใจรับสารแอสเบสตอสหรือเส้นใยหิน (asbestosis) การหายใจรับสารซิลิคอนไดออกไซด์หรือฝุ่นทราย (silicosis) การหายใจรับสารเบริลเลียม (berylliosis) โรคปอดจากโลหะหนัก เช่น อะลูมิเนียมหรือสารประกอบของอะลูมิเนียม หอบหืดจากการทำงาน ปอดอักเสบภูมิไวเกิน (hypersensitivity pneumonitis) โรคทางเดินหายใจส่วนบนที่เกิดจากสารภูมิแพ้หรือสารระคายเคืองในที่ทำงาน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

2. โรคเหตุจากสภาวะทางกายภาพ (Physical Hazard) การได้ยินเสื่อมจากเสียงดัง ผลจากความร้อน ผลจากความเย็น ผลจากการลดความกดอากาศและที่เกี่ยวข้อง แรงสั่นสะเทือน การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

3. โรคผิวหนัง (Skin diseases) Occupational Dermatitis ส่วนใหญ่จะพบที่บริเวณมือ พบ irritant contact dermatitis มากกว่า allergic contact dermatitis การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

3. โรคผิวหนัง (Skin diseases) Occupational Dermatitis ผิวหนังอักเสบจากภูมิแพ้ (allergic dermatitis ) แพ้สารเคมี ผ้าอ้อม เครื่องสำอาง ยา พลาสติก ซีเมนต์ สี ผิวหนังอักเสบจากสารระคาย ( Irritant dermatitis ) ผงซักฟอก น้ำมันเครื่องสำอาง ยา อาหาร และสารเคมีอื่น ๆ ผิวหนังสัมผัสแสงแดด และรังสีอุลตร'าไวโอเลต ผิวหนังอักเสบอื่น ๆ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

3. โรคผิวหนัง (Skin diseases) Occupational Dermatitis Occupational Dermatoses การอักเสบของผิวหนังที่มีสาเหตุหรือมีอาการมากขึ้นจากการงานอาชีพ ส่วนใหญ่จะพบที่บริเวณมือ Methias พบ irritant contact dermatitis มากกว่า allergic contact dermatitis สาเหตุ 3 อันดับแรกคือ potassium dichromate (ปูนซีเมนต์, เครื่องหนัง) paraphynylenediamine (น้ำยาย้อมผม) nickel sulfate (เครื่องโลหะ, เหรียญบาท) พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

4. โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ (Musculoskeletal diseases) 1. โรคข้ออักเสบ (arthritis) เนื่องจากแรงเค้นเชิงกล (mechanical stress ) 2. การอักเสบของเอ็นหรือปลอกหุ้มเอ็น ( tendinitis / peritendinitis ) 3. การอักเสบของส่วนที่ติดหรือเชื่อมต่อกับเอ็น 4. โรคข้อเสื่อมเรื้อรัง (arthrosis /Osteoarthritis) 5. กล้ามเนื้อเกร็งและเจ็บปวด 6. โรคหมอนรองกระดูกสันหลัง ข้อมูลรายงาน ปี 2554 ปวดหลังจากอาชีพ 9,482 ราย ร้อยละ 71.3 อาการปวดจากความเค้นของกล้ามเนื้ออื่น ๆ 3,808 ราย ร้อยละ 28.7 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

5. พิษจากสัตว์ (Toxic effect of contact with venomous animals) พิษจากงู แมลง ผึ้ง แตน ต่อ ตะขาบ มด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

6. พิษจากพืช(Toxic effect of contact with plants) กินพืชพิษ การกินเห็ดพิษ กินผลของพืชพิษ เช่น สบู่ดำ มะกล่ำ ฯ กินส่วนอื่น ๆ ของพืช เช่น ใบ ราก ลำต้น ผู่ป่วยที่กินผลไม้พิษส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเด็ก อายุระหว่าง 6 – 10 ปี การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7. พิษโลหะหนัก (Heavy metal poisoning) อลูมิเนียม (Aluminium: Al) พิษตะกั่ว (Lead: Pb) ปรอท (mercury: Hg) แคดเมียม (Cadmium: Cd) โครเมียม (Chromium: Cr) การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7.1 อลูมิเนียม (Aluminium:Al) อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การเกิดพิษเนื่องจากได้รับอะลูมิเนียมออกไซด์และผงผุ่นอะลูมิเนียมอื่นๆ ระหว่าง การกลึงโลหะบางกรณีเกิดจากไอของโลหะระหว่างปฏิบัติงาน สารที่ได้รับเข้าสู่ร่างกายจะถูกขับออกทางปัสสาวะ พิษเรื้อรัง ทำให้ระคายเคืองตา จมูกและลำคอแห้ง อาจมีเลือกกำเดาและเนื้อเยื่อปอดอักเสบ บางรายอาจหายใจขัด มีหอบหืด ระยะยาวอาจเกิดมะเร็งได้ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7.2 ตะกั่ว (Lead:Pb) ใช้ในการผลิตอัลลอยด์ แบตเตอรี่ ที่หุ้มสายเคเบิ้ลและท่อต้องการให้คงทนต่อกรดและด่าง ใช้ผลิตสี พิษเฉียบพลัน ระคายเคืองผิวหนังและเยื่อบุอ่อน พิษเรื้อรัง โลหิตจาง ระบบประสาทส่วนกลางผิดปกติ ทำให้ความดันโลหิตสูง อาจพบเส้น lead line ที่เหงือก ปวดเมื่อยตัว ปวดท้องเกร็ง ทำลายสมอง ทำลายความจำ กล้ามเนื้อแขนขาสั่น เป็นโรคเก๊าท์ ทำลายตับและไต เป็นสารก่อลูกวิรูป สารก่อกลายพันธุ์ ทำลายเชื้ออสุจิ ทำให้เป็นหมันได้ในเพศชาย อาจทำให้แท้งบุตรในครรภ์ได้ในเพศหญิง โรคที่เกิดจากสารตะกั่ว เรียกว่าโรคพิษตะกั่ว การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7.3 ปรอท (Mercury:Hg) สัมประสิทธิ์การขยายตัวสูงมาก ในอุณหภูมิปกติจะระเหยเป็นไอได้ พิษเฉียบพลัน ระคายเคืองผิวหนังและเยื่อบุอ่อน เกิดผิวหนังอักเสบ ทางเดินอาหาร มีเนื้อเยื่อตาย ระคายเคืองทางเดินหายใจ ทำให้ปอดอักเสบ พิษเรื้อรัง อารมณ์เปลี่ยนแปลง ระบบประสาทตาและระบบประสาทการได้ยินเสียไป มีแผลที่เยื้อตาขาวและกระจกตา กล้ามเนื้อสั่น แขนขาอ่อนแรง อาจเป็นอัมพาตได้ ประสิทธิภาพการกรองของไตลดลง มีการผุกร่อนของกระดูกและอาจตายได้ โรคที่เกิดเรียกว่า โรคพิษปรอท หรือโรคมินามาตะ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7.4 แคดเมียม (Cadmium :Cd) ใช้ในการผลิตอัลลอย์ด แบตเตอรี่ ที่หุ้มสายเคเบิ้ล ผสมในสี อุตสาหกรรมแก้ว การฟอกหนัง ส่วนประกอบของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ สารถนอมรักษาเนื้อไม้ พิษเฉียบพลัน ระคายเคืองผิวหนังและเยื่อบุอ่อน พิษเรื้อรัง ผิวหนังหนา ผิวหนังเปลี่ยนสี มีสีขาวที่เล็บ เป็นแผลที่ผนังกั้นโพรงจมูก กล้ามเนื้ออ่อนแรง ทำลายตับและไต แขนขาชา เป็นสารก่อกลายพันธุ์ สาร ก่อ ลูกวิรูป และก่อมะเร็วผิวหนัง โรคที่เกิดจากพิษสารหนูเรียกว่า โรคพิษสารหนู หรือโรคไข้ดำ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7.4 แคดเมียม (Cadmium :Cd) เป็นผลพลอยได้จากการผลิตสินแร่ที่มีสังกะสี ตะกั่วและทองแดงให้บริสุทธิ์ผู้ปฏิบัติงานอาจได้รับโดยการหายใจเข้าไปในกระบวนการหลอมและผลิตสังกะสี ตะกั่ว และทองแดงให้บริสุทธิ์ อาจได้รับโดยทางกินน้ำหรือหรืออาหารที่ปนเปื้อน พิษเฉียบพลัน ระคายเคืองผิวหนังและเยื้อบุอ่อน เป็นไข้ไอโลหะ ปอดบวมน้ำ พิษเรื้อรัง ทำลายกระดูก ปวดกระดูก ทำลายปอด ตับและไต เป็นโรคโลหิตจาง สารก่อลูกวิรูป และเป็นสารก่อมะเร็งโรคที่เกิดจากพิษแคดเมียมเรียกว่าโรคพิษแคดเมียม เรียกว่า โรคอิไต-อิไต การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

7.5 โครเมียม (Chromium: Cr) ใช้ในการเคลือบผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ อัล ลอยด์ อุปกรณ์เครื่องมือ พิษเฉียบพลัน ระคายเคืองผิวหนังและเยื้อบุอ่อน ระคาย เคืองทางเดินหายใจ อาจเป็นโรคหอบหืดและ ภูมิแพ้ พิษเรื้อรัง จมูกและหลอกลมอักเสบ ผิวหนังอักเสบ อาจเป็นมะเร็งผิวหนังและมะเร็งปอด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

8. พิษสารระเหยและตัวทำละลาย (Toxic effect of solvents) เบนซีน เกิดมะเร็งของเม็ดเลือดและก่อกลายพันธุ์ พิษไตรคลอโรเอทธิลีน ปวดศีรษะ ไอ มองเห็นภาพซ้อน สูญเสีย ประสาทรับความจำและรู้สึก โทลูอีน เกิดอาการทางจิตประสาท และภาพหลอน คาร์บอนเตตระคลอไรด์ พิษเรื้อรังทำให้ตับบวมและไตวาย เมธิลแอลกอฮอล์ การกินทำให้มองเห็นภาพไม่ชัดเจน ตาบอดได้ เมธิลเอทธิลคีโตน พิษเรื้อรังของไอระเหยคือตามัวชั่วคราว การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

9. พิษจากก๊าซ (Toxic effect of gas and vapor poisoning) พิษจากก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ส่วนใหญ่การสูดดมก๊าซมักเกิดจากการรั่วไหล ระหว่างกระบวนการผลิต เช่น แอมโมเนีย ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ส่วนหนึ่งเกิดจากการทำงานในที่อับอากาศ ได้แก่ บ่อก๊าซชีวภาพ เรือประมง การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

9. พิษจากก๊าซ (Toxic effect of gas and vapor poisoning) แบ่งตามกลไกการทำอันตรายต่อร่างกายได้เป็น 5 ชนิด ก๊าซที่ทำให้เกิดการหายใจไม่ออก ก๊าซที่รบกวนกระบวนการเคลื่อนย้ายของออกซิเจน ก๊าซที่เป็นพิษต่อระบบต่างๆของร่างกาย ก๊าซที่ระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ก๊าซที่ทำให้เกิดการแพ้ที่ปอด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

อนุภาค ฝุ่น เป็นอนุภาคของแข็งขนาดเล็ก กระจายอยู่ในอากาศ เกิดจากการตัด บด ขัด เจาะ ขนาดใหญ่กว่า 10 ไมครอนจะตกลงสู่พื้น ฟูม เป็นอนุภาคของแข็งที่เกิดขึ้นเมื่อโลหะถูกความร้อน จนกลายเป็นไอ เมื่อไอเหล่านี้ถูกความเย็นจะควบแน่น จะกลายเป็นอนุภาคของแข็งเล็กๆ เช่น ฟูมตะกั่ว ฟูมสังกะสี ฟูมของเหล็ก ฟูมมีชื่อเรียกอีกหนึ่งชื่อว่า “ไอควันโลหะ” โรคจากฟูมเรียกว่า ไข้จากโลหะ (Metal fume fever) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสังกะสี การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

อนุภาค ควัน เป็นกลุ่มของอนุภาคขนาดเล็กกว่า 1 ไมครอน เกิดจากการสันดาปที่ไม่สมบูรณ์ เช่น ควันบุหรี่ ควันจากการเผาถ่าน ละอองไอ เป็นอนุภาคของเหลวที่กระจายในอากาศ มักเกิดจากการของเหลวให้เป็นละออง เช่น การระเหยของน้ำ การระเหยของสารทำละลายอินทรีย์ ไอของน้ำเดือด การพ่นสีด้วยการฉีดฝอย การฉีดน้ำด้วยการฉีดฝอย การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

อันตรายของอนุภาค โดยการหายใจเข้าสู่ปอด เมื่ออนุภาคมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 10 ไมครอน อนุภาคขนาดเล็กฝังตัวในถุงลมปอดได้ ทำให้เกิดพังผืด ปอดอุดตัน ปอดอักเสบ หายใจไม่ออก >>>>> และถึงตายได้ โดยการสัมผัสทำให้ระคายเคืองผิวหนัง การรับสัมผัสทำให้เกิดพยาธิสภาพอื่นต่อร่างกาย โดยเกิดโรคเฉพาะสารได้ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

อนุภาคทำให้เกิดพิษ คาร์บอนมอนอกไซด์ รวมกับเหล็กเกิดสารคาร์บอกซีฮีโมโกลบินในเลือด คาร์บอนไดออกไซด์ พบอุบัติเหตุคนงานในบ่อลึก หมดสติจากสารนี้ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ พบในกรณีเผาไหม้ถ่านหินลิดไนต์ของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ความเข้มข้นสูงเกิดเมทฮีโมโกลบินในเลือด คลอรีน อาการรุนแรงผิวหนังเป็นสีน้ำเงิน เส้นใยแอสเบสตอส โรคแอสเบสโตสิส ซิลิก้า โรคซิลิโคสิส ฝุ่นฝ้าย โรคบิสสิโนสิส ฝุ่นถ่านหิน โรคฝุ่นจับปอดหรือนิวโมโคนิโอสิส การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

10.พิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมี อื่น ๆ (Toxic effect of pesticides and other chemical สารกำจัดแมลงศัตรูพืช สารเคมีอื่น ๆ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตามบ้านเรือน เป็นการได้รับพิษขณะทำงาน และอุบัติเหตุ ไม่รวมการฆ่าตัวตาย สารกำจัดแมลงศัตรูพืชที่ได้รับรายงาน จำแนกเป็น 3 กลุ่ม พิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช สารกำจัดวัชพืช สารกำจัดหนูและสัตว์แทะ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

10.พิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมี อื่น ๆ (Toxic effect of pesticides and other chemical 1. กลุ่มพิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช ออร์กาโนฟอสฟอรัส คาร์บาเมต ไพรีทรอยด์ 2. กลุ่มสารกำจัดวัชพืช พาราควอท กลัยโฟเสต ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ตามบ้านเรือนส่วนใหญ่เป็นสารประกอบอินทรีย์ ชนิดกัดกร่อน. การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มพิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช (ออร์กาโนฟอสเฟต) ชื่อการค้า พาราไธออน เป็นสารที่ได้จากการสังเคราะห์ทางเคมี เพื่อใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เริ่มประมาณปี ค.ศ. 1937 โดยนักเคมีชาวเยอรมัน ในรูปของก๊าสพิษ ทำลายระบบประสาท เช่น ซาริน และพัฒนาจนได้สารใหม่ๆ ชาวนาใช้พาธาไลออนคลุกกับข้าว หว่านในนาเพื่อฆ่าปูนาที่มากัดกินต้นกล้า ชาวไร่ถั่วเหลือง ใช้พ่นกำจัดหนอนมวนใบและหนอนกระทู้ พาราไธออนนิยมใช้กับพืชผัก ผลไม้ และถั่วเมล็ดแข็ง อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เกิดอันตรายได้จากการหายใจ การสัมผัสถูกผิวหนังและถูกดูดซึมได้ เกิดพิษ ได้จากการกินและสัมผัสถูกตา และสามารถลุกติดไฟได้หากได้รับความร้อนสูง การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มพิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช (ไพเรธริน) เป็นของเหลว ข้นเหนียว สกัดจากดอกไพรีธรัม(พืชตะกูลเบญจมาศ) โดยนำมาบดเป็นผงและสกัดเป็นสารออกมา ผลิตภัณฑ์มีความเข้มข้นประมาณร้อยละ 1 ถึง 3 ใช้กำจัดแมลงในบ้านเรือนได้หลายชนิด โดยมักจะผสมกับสารเคมีอื่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม สลายตัวเร็วทำให้แมลงเป็นอัมพาตและตกลงมา มีพิษน้อยต่อมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มพิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช (DDT) ชื่อทางเคมี “ไดคลอโรไดฟีนิลไตรคลอโรอีเธน” ชื่อทางการค้า “ดีดีที” ไม่ละลายในน้ำ ละลายได้ดีในไขมัน และตัวทำละลายเช่น น้ำมันก๊าด โทลูอีน นักเคมีชาวสวิส นายพอล มิลเลอร์ พบว่าสารนี้สามารถฆ่ามวลที่ทำลายผ้าและแมลงต่างๆได้ ใช้ลดการระบาดของโรคไทฟัส ในประเทศอิตาลีอย่างมีประสิทธิภาพ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มพิษสารกำจัดแมลงศัตรูพืช (DDT) (ต่อ) อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เป็นสารพิษชนิดพิษมาก การกินในปริมาณ 5 กรัม ทำให้อาเจียนอย่างรุนแรง อ่อนเพลีย ชาตามมือเท้า ตื่นเต้นตกใจง่าย เกิน 20 กรัม ทำให้หนังตากระตุก กล้ามเนื้อสั่น ชัก พิษเรื้อรังทำให้เบื่ออาหาร กล้ามเนื้อสั่นกระตุก และมีรายงานการก่อมะเร็งในสัตว์ทดลอง เนื่องจากเป็นสารที่สลายตัวยาก จึงสะสมในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหาร ปัจจุบันเป็น สารห้ามใช้ในสหรัฐอเมริกา การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มสารกำจัดวัชพืช (พาราควอท) เป็นผลึก ละลายน้ำได้ดี สลายตัวภายใต้แสงอัลต้าไวโอเลต ได้จากการสังเคราะห์ไพริดีนกับเมธิลคลอไรด์ สามารถใช้กำจัดวัชพืชได้ทุกชนิด ทั้งใบกว้างและใบเดี่ยว โดยการฉีดพ่นให้ถูกใบ เมื่อถูกแสงแดดจะเกิดปฏิกิริยาทำให้พืชตาย ใช้ในไร่ฝ้ายเพื่อการเก็บเกี่ยวได้ง่าย ใช้ในสวนยางพารา สวนผลไม้ อันตรายต่อสุขภาพสิ่งแวดล้อม อันตรายต่อเนื้อเยื้อปอด ไตวายเฉียบพลัน ระคายเคืองต่อตา สัมผัสผิวหนังทำให้เป็นแผลพุพอง และนำไปผสมในสุราเถื่อน ในประเทศไทยมีรายงานฆ่าตัวตายโดยใช้สารนี้บ่อยครั้ง การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

สารเคมีกำจัดหนู (อาร์เซนิกไตรออกไซด์) เป็นผงผลึกสีขาว หรือก้อนไม่มีสี ใช้กำจัดหนูและสัตว์กัดแทะ เป็นสารตั้งต้นสำหรับการผลิต สารอาร์เซนิคชนิดอื่นๆ สารประกอบสารหนู สารเคมีกำจัดแมลง น้ำยาถนอมเนื้อไม้ อุตสาหกรรมเครื่องแก้ว การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

สารเคมีกำจัดหนู อาร์เซนิกไตรออกไซด์ (ต่อ) อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การหายใจเอาสารในรูปผงแห้งหรือละอองน้ำเข้าไป ทำให้ระคายเคืองจมูก ลำคอ ถ้าปริมาณมากทำให้เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เป็นตะคริว และกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ การสัมผัสผิวหนังหรือตา ทำให้ระคายเคือง หรือไหม้ ผิวมีผื่นและคัน พิษเรื้อรัง อาจเกิดแผลทำให้รูทะลุในกระดูกกั้นช่องจมูก ผิวหนังหนาด่างดำ ทำลายตับ และมีผลต่อกระเพาะอาหาร ทำลายปลายประสาท แขนขาอ่อนเพลีย และเป็นมะเร็งผิวหนัง สามารถปนเปื้อนและสะสมในดินน้ำและสิ่งแวดล้อมได้ คำถาม หากต้องการกำจัดยุง แมลงสาบในบ้านเรือน ควรใช้สารฆ่าแมลงต่อไปนี้หรือไม่เพราะเหตุใด การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

มอบหมายรายงานกลุ่ม จัดทำรายงานเกี่ยวกับโรคจากการทำงาน จำนวน 5 กลุ่ม มีภาพมาให้เลือก และให้ตั้งชื่อภาพเอง (ต้องน่าสนใจ) เนื้อหา ไม่น้อยกว่า 10 หน้ากระดาษ A4 ส่งต้นฉบับเพื่อตรวจสอบก่อนนำเสนอ มีเวลานำเสนอพร้อมซักถาม อภิปราย กลุ่มละ 15 นาที ส่งรูปเล่มพร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล หลังจากนำเสนอ 7 วัน 6. เนื้อหาในการนำเสนอจะนำมาเป็นข้อสอบ จำนวน 15 ข้อ การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มที่ 1 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มที่ 2 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มที่ 3 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มที่ 4 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106

กลุ่มที่ 5 การบริการงานอาชีวเวชภายนอกโรงพยาบาล <ปางก์เพ็ญ เหลืองเอกทิน> 5/22/2106