ทำอย่างไรสู่ความสำเร็จใน งานศูนย์ความเป็นเลิศ ประเด็น “ การบริหารจัดการ โครงสร้าง ” ดร. พนิตนาฎ ชำนาญเสือ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาศูนย์ความเป็น เลิศด้านสุขภาพ เพื่อสร้าง ความโดดเด่นทางวิชาการ ให้เป็นที่ประจักษ์ *Flag Ship* ความเป็นมาและ ความสำคัญ
ผู้อำนวยการ ให้นโยบายการ บริหาร แบบมีส่วนร่วม ร่วมคิด วิเคราะห์สภาพองค์กร และหาข้อมูลสภาพปัญหา และความต้องการของพื้นที่ ร่วมสร้าง สร้างกรอบแนวคิดการดูแล ร่วมทำ บูรณาการ ทุกกลุ่มภารกิจที่เกี่ยวข้องกับ เกณฑ์ มาตรฐานศูนย์ความเป็นเลิศ ได้แก่ ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ วิจัยและสร้างองค์ความรู้ พัฒนาบุคลกร ( ภายใน ) เทคโนโลยีสารสนเทศ ( เข้าถึงความรู้และบริการ วิชาการ ) ระดมสมอง
บทสรุปจากการระดม สมอง สภาพปัญหาและความต้องการในพื้นที่ Stroke จุดแข็งความเชี่ยวชาญเดิมของวิทยาลัย Evidence Base Nursing แหล่งประโยชน์ หรือปัจจัยเกื้อหนุนการ ดำเนินการจากภายนอก โรงพยาบาลสระบุรี เทศบาล อบจ. ชุมชน
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการพยาบาลโรค หลอดเลือดสมอง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ Excellent Center for Evidence-based Stroke Nursing การจัดตั้งศูนย์
สัญลักษณ์ศูนย์ฯ
กรอบแนวคิดการดูแล
โครงสร้างการบริหาร ศูนย์ฯ
การบริหารแบบบูรณาการ ทุกภารกิจ คณะกรรมการศูนย์ความเป็นเลิศและคลัง ความรู้ทางวิชาการ การบริหารเชิงกลยุทธ์ จากกลยุทธ์การพัฒนา ศูนย์ สู่ กลยุทธ์การยกระดับศูนย์ แปลงสู่แผนปฏิบัติการประจำปี โดยมีหัวหน้า โครงการที่เป็นคณะกรรมการศูนย์ เป็นกลไกขับเคลื่อน การบริหารจัดการตาม โครงสร้างศูนย์
การบริหารแบบมุ่งผลลัพธ์ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานศูนย์ ( ๘ ข้อ ) เป็น เป้าหมายและตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน ( มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงาน / โครงการทุกไตรมาส ) การประเมินผลงาน ระดับบุคคล : ประเมินผลการปฏิบัติราชการ (PA) การบริหารจัดการตาม โครงสร้างศูนย์
ศูนย์ความเป็นเลิศทางการพยาบาลโรคหลอด เลือดสมอง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ จะเป็นศูนย์กลางทางวิชาการและการเรียนรู้ ด้านสุขภาพของชุมชน ที่ได้การยอมรับในคุณภาพระดับชาติ วิสัยทัศน์
คิดรอบ แผนชัดเจน ทำ ต่อเนื่อง เราช่วยกันทำ ขอบคุณค่ะ