สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
Advertisements

เอกสาร อัตราราคางาน (Unit Cost) ที่ใช้จัดทำ ปมก. ณ ปัจจุบัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ ปีงบประมาณ 2558 นพ. ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ ( ทรงคุณวุฒิ )
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
ความเป็นมาของโครงการ ปัญหานักศึกษาใช้ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์แล้วไม่ช่วยกันรักษาห้องและ อุปกรณ์ ถือเป็นเรื่องสำคัญของทางภาควิชาที่ ต้องเริ่งดำเนินการ.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
การดำเนินงาน RTI.
How To กับ 4 แนวทาง 10 เครื่องมือ
เราคนคลัง รู้เท่าทันผลประโยชน์ทับซ้อน โดย.. นายพิเศษ นาคะพันธุ์
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วย โรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2556
Controlling 1.
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
อ.ส่งเสริม วจีทองรัตนา
การคิดค่าภาระงานทางการพยาบาล
การพัฒนางานเภสัชกรรม
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
เทคนิคการตรวจรับ และ ควบคุมงาน.
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
เวชระเบียน และ สถิติ Medical Record and Statistics
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
สรุปตัวชี้วัด ของหน่วยตรวจพิเศษ ปี 57.
HDC แผนแพทย์ไทย.
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
Click to edit Master subtitle style
การประชุมชี้แจงแนวทางการกรอกข้อมูล เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะสำหรับกรุงเทพมหานคร โดย คณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในเครือข่ายการวิจัย.
การประเมินราคา (Cost estimation).
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 2 ปี 2558 คณะที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การจัดบริการ วันที่ 5 สิงหาคม 2558 วันที่ 5 สิงหาคม 2558 ณ ห้องประชุมภูหลวง โรงพยาบาลเลย

ประเด็นตรวจราชการ 1.การบริหารการเงินการคลัง 2.การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ ที่ไม่ใช่ยา 3.ธรรมาภิบาล (1) การส่งเสริมป้องกันการทุจริต (2) การป้องปรามตรวจสอบการทุจริต (3) การแก้ไขปัญหาการทุจริต

1. 1. การแก้ปัญหาและ ป้องกันการขาด สภาพคล่องทาง การเงิน 1. การบริหารการเงินการคลัง 2.การควบคุมต้นทุน ให้เหมาะสม “ประสิทธิภาพการบริหาร การเงินสามารถควบคุม ปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่” ≤ 10%(ปฏิบัติได้ 0%) “หน่วยบริการที่มีต้นทุนต่อ หน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ย กลุ่ม ในระดับผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน รวมทุกสิทธิ ต่อหน่วยน้ำหนัก” ≤20% (ปฏิบัติได้ 14.29%)

1.1 การแก้ปัญหาและป้องกันการขาดสภาพคล่องทางการเงิน ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุม ปัญหาทางการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ 1.การจัดสรรงบค่าใช้จ่ายให้หน่วยบริการ 2.การพัฒนา ควบคุมกำกับให้หน่วยบริการมีการบริหารการเงิน การคลัง จนไม่ประสบปัญหาทางการเงิน รพศ. รพท. และ รพช. ทุกแห่ง 1.หน่วยบริการจะต้องมีแผนการดำเนินงานเพื่อปรับ ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน 2.พัฒนาข้อมูลบัญชีให้มีความถูกต้องน่าเชื่อถือ 1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของ รพ. 2.มีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย/เพิ่มรายได้ (ผ่านจังหวัด,เขตอนุมัติ) 3.มีการพัฒนาบัญชีผ่านเกณฑ์คุณภาพ 4.มีการรายงานการเงินและตัวชี้วัดให้ผู้บริหารทราบทุกเดือน 5.มีการประเมินคุณภาพการบริหารการเงินการคลังโดยใช้ เกณฑ์ประเมิน FAI

1.2 การควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์ เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการในระดับผู้ป่วยนอก (OPD) และผู้ป่วยใน (IPD) รวมทุกสิทธิ (total cost) ต่อ หน่วยน้ำหนัก รพศ.รพท. และ รพช. ทุกแห่ง 1.ส่งข้อมูลบริการService data ครบถ้วน ทันเวลา ทุกเดือน 2.การจัดการระบบบริการเพื่อให้มีต้นทุนบริการลดลง 3.การควบคุมค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการในหมวดต่างๆ ได้แก่ Labor cost,Material cost, Capital cost,Operating cost 1.มีผู้รับผิดชอบการตรวจสอบข้อมูลบริการ Service Data สำหรับทำ Unit cost แบบ Quick Method 2.มีการรายงานต้นทุน Unit Cost แบบ Quick method ให้ ผู้บริหารได้รับทราบทุกเดือน 3.มีต้นทุน OPD, IPD ไม่สูงกว่าค่าเฉลี่ย รพ.ในกลุ่มระดับ เดียวกันเมื่อเทียบไตรมาส 4.ได้นำข้อมูลต้นทุนไปใช้ในการพัฒนาระบบบริการ

หมายเหตุ : 1.คะแนนประเมินคุณภาพบัญชี และ FAI เป็นข้อมูล Q3Y58 (คะแนนบัญชี Audit A-B=76.92% ค่าคะแนนเฉลี่ย=80.18%) 2.ส่วน Unit Cost เป็นข้อมูล Q2Y58 แบบรายงานตรวจราชการ ด้านการบริหารการเงินการคลัง

วิเคราะห์รายได้รพ.ด่านซ้าย

หมายเหตุ 1.ข้อมูลปี 2557 เป็นข้อมูล Benchmark Data Q4Y57 2.ข้อมูลปี 2558 เป็นข้อมูล Benchmark Data Q2Y58 เปรียบเทียบค่าใช้จ่าย/RW (จากฐานข้อมูล Benchmarking Data เขต 8)

2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมี ประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม ผลลัพธ์ เป้าหมาย 1.การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยามี ประสิทธิภาพ ดำเนินการกำกับติดตาม ประเมินผล อย่างเป็นระบบ โปร่งใส สอดคล้องตามระเบียบกำหนด 2.ต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของ หน่วยงานต่อผู้ป่วยลดลง และการใช้ยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาเหมาะสมในหน่วยบริการ แต่ละระดับ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ควบคุมกำกับโดย สสจ เขต และหัวหน้าส่วน ราชการ

2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมี ประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม การตรวจ ติดตาม 1.การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและ เวชภัณฑ์ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการ บริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ การสั่งใช้และการใช้ อย่างสมเหตุผล 3.จริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อ จัดหา และส่งเสริมการขาย 4.การควบคุมต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 5.การรายงานและการควบคุมกำกับการบริหารจัดการ 1.มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารจัดการ ด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ทุกระดับ 2.มีระบบการกำกับประเมินการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ ยา (Utilization Evaluation) 3.มีแนวปฏิบัติตามเกณฑ์จริยธรรม 4.มีระบบควบคุมกำกับต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ฯ 5.มีการรายงาน และประเมิน ผลการดำเนินงานตาม ลำดับชั้น ในเวลาที่กำหนด มาตรการ

3. ธรรมาภิบาล : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 3.1 ด้านการส่งเสริมป้องกันการทุจริต 3.2 ด้านการป้องปรามตรวจสอบการทุจริต 3.3 ด้านการแก้ไขการทุจริต “ค่าดัชนีวัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของ ประเทศไทย (CPI) มีระดับดีขึ้น”

ธรรมาภิบาล : 3.1 การส่งเสริมป้องกัน ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับ ในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป.ด้าน วินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการ กระทำผิด การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม

3.1.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับในหน่วยงาน ระดับจังหวัด สังกัด สป. ได้รับการเสริมสร้างและ พัฒนาให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการ กระทำผิด หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (สสจ.รพศ.รพท.) หน่วยงานมีแผนและดำเนินการเสริมสร้าง พัฒนา บุคลากรทุกระดับให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ ป้องกันการกระทำผิด 1.มีการประชุมชี้แจงตัวชี้วัด 2.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.มีแผนเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด 4.มีการดำเนินการตามแผน 5.มีเอกสารหลักฐานการดำเนินการตามแผน 6.มีรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนและพัฒนาต่อยอด

ระดับขั้นตอนการดำเนินการ 1หน่วยงานประชุมชี้แจงและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ (แต่งตั้งโดย นพ.สสจ/ผอ.รพศ./รพท.) 2ดำเนินการระดับที่ 1 และ หน่วยงานจัดทำแผนเสริมสร้าง และพัฒนาบุคลากรทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัดให้มี วินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด 3ดำเนินการระดับที่ 2 และ หน่วยงานดำเนินการตามแผน เสริมสร้างและพัฒนาให้บุคลากรในหน่วยงานระดับจังหวัดให้ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด 4ดำเนินการระดับที่ 3 และ หน่วยงานจัดทำรายงานสรุปผล การดำเนินการตามแผน และมีการพัฒนาต่อยอดการ เสริมสร้างและพัฒนา ให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ ป้องกันการกระทำผิด หน่วยงานเป้าหมาย ได้แก่ สสจ.เลย และ รพท.เลย “บรรลุระดับ 4”

3.1.2 การดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม” ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม 1.รพ.คุณธรรม 2.ความครอบคลุม รพ.คุณธรรม ในจังหวัด หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (รพศ. รพท. รพช.ระดับ M) หน่วยงานดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม” 1.ประชุมชี้แจงและแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ 2.จัดทำแผน รพ.คุณธรรม 3.ดำเนินการตามแผน 4.รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผน และมีการ พัฒนาต่อยอด 1.ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการ รพ. 2.การทำงานของกรรมการ และแกนนำ/เจ้าหน้าที่ 3.กิจกรรมที่สนับสนุนให้เกิด รพ.คุณธรรม 4.การพัฒนาต่อยอด

ระดับการดำเนินการแต่ละขั้นตอน 1หน่วยงานประชุมชี้แจงนโยบาย และหาจุดร่วมที่บุคลากรทุกคนตกลง ยึดเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนา(อัตลักษณ์) 2 1. ดำเนินการระดับ 1 และ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ 3. จัดทำแผนเสริมสร้างการบริหาร และพัฒนา 3 1. ดำเนินการระดับ 2 และ 2. หน่วยงานดำเนินการตามแผนเสริมสร้างและพัฒนาการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 4 1. ดำเนินการระดับ 3 และ 2. หน่วยงานมีการประเมินและสรุปผลลัพธ์การดำเนินการพัฒนา หน่วยงานบริการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 5 1. ดำเนินการระดับ 4 และ 2. หน่วยงานมีการประเมินผลการดำเนินการ และปรับปรุงแผนการ บริหาร พัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม” ความสำเร็จ โรงพยาบาลคุณธรรม จว.เลยดำเนินการในรพ.ทุกแห่งรวม 14 แห่ง “บรรลุระดับ 2” **ขาดความชัดเจนในการกำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัดในเชิงคุณภาพหรือนามธรรม**

ธรรมาภิบาล : 3.2 การป้องปราม ตรวจสอบ(การตรวจสอบภายใน) ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม หน่วยงานในสังกัด สป. มีกลไกการตรวจสอบภายใน อย่างเป็นรูปธรรม ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ระดับจังหวัด ภาคีฯ ระดับจังหวัด ดำเนินการตรวจสอบภายใน และ ประเมินระบบการควบคุมภายใน มีกระบวนการ ติดตามหน่วยงานที่ไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะ รายงานการตรวจสอบภายใน 1.มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปี 2.มีการปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน 3.มีการกำกับ ติดตาม สอดคล้องกับนโยบาย สป. 4.มีการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของ รายงานการตรวจสอบภายใน 5.มีหลักฐานเชิงประจักษ์การดำเนินการแก้ไข

ระดับขั้นตอนการดำเนินงาน ๑จัดทำแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ตามความเสี่ยงสอดคล้องนโยบาย ๒จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) รายหน่วย รับตรวจ และอนุมัติแผนการปฏิบัติงาน ๓การปฏิบัติงานตรวจสอบ ประกอบด้วย (๑)การประเมินระบบ การควบคุมภายใน (๒)การตรวจสอบภายใน ๔จัดทำรายงานผลการตรวจสอบภายในตามแนวทางที่กำหนด ๕สรุปผลการตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัด (เชิง ผลผลิต ผลลัพธ์) (1)รอบ ๖ เดือน ภายในวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘ (2)รอบ ๑๒ เดือน ภายในวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๘ “บรรลุระดับ 5” มีสรุปผลการตรวจสอบภายในภาพรวมจังหวัด รอบ 6 เดือน ตามห้วงเวลาที่กำหนด (92.86%)

ธรรมาภิบาล : 3.3 การแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย ผลลัพธ์ เป้าหมาย มาตรการ การตรวจ ติดตาม การเงิน การคลัง พัสดุ บุคลากร หน่วยงานมีการแก้ไขการบริหารจัดการด้าน การเงิน การคลัง พัสดุ บุคลากร ให้ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ เป็นธรรม สสจ. รพศ. รพท. รพช. ที่มีปัญหาปฏิบัติงาน ผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย ผู้บริหารและหน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไขปัญหาฯ (ความไม่เป็นธรรมในการแต่งตั้งโยกย้าย เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการเงิน การจัดซื้อจัดจ้าง) หน่วยงานที่มีปัญหาฯ ได้มีการดำเนินการตาม มาตรการ ปรับปรุงแก้ไข ลงโทษ ดังนี้ 1. ด้านการลงโทษ 2. ด้านจัดซื้อจัดจ้าง 3. ด้านการเงินและบัญชี 4. ด้านการบริหารบุคคล

หัวข้อ/ประเด็นการประเมิน 1. ด้านการลงโทษ 1. มีการสอบสวนผู้กระทำผิด 2. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการทางวินัย 3. มีวิธีการพิจารณาลงโทษผู้กระทำผิดอย่างยุติธรรม 4. มีการลงโทษหรือดำเนินการทางวินัยอย่างจริงจัง และมีประสิทธิภาพ 2. ด้านจัดซื้อจัดจ้าง 1. มีการจัดหาพัสดุตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี 2. มีขั้นตอนการขอความเห็นจากหัวหน้าส่วนราชการตามกฎระเบียบ 3. ไม่มีการแบ่งซื้อ/แบ่งจ้างโดยการลดวงเงิน 4. มีการสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ มีหลักฐานการตรวจรับและการ เบิกจ่ายที่ถูกต้องตามกฎระเบียบ 5. ผู้บริหาร มีการควบคุม กำกับ ดูแลให้การจัดซื้อจัดจ้างเป็นไปตาม แผนการจัดซื้อจัดจ้างและเป็นไปตามกฎระเบียบ 6. มีการบริหารสินทรัพย์ เช่น การควบคุม บำรุง ดูแลรักษา จำหน่าย ฯลฯ

หัวข้อ/ประเด็นการประเมิน 3. ด้านการเงินและบัญชี 1. มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับ-จ่ายเงินเป็นลายลักษณ์อักษรและแยกผู้รับ จ่ายเงินกับผู้จัดทำบัญชี /คณะกรรมการตรวจสอบการรับ-จ่ายเงิน 2. มีการเบิกจ่ายเงินสด เงินฝากธนาคารถูกต้องเป็นตามกฎระเบียบ 3. มีการจัดทำรายงานเป็นปัจจุบัน เสนอผู้บริหารตรงตามกำหนดเวลา 4. มีการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารทุกบัญชีทุกเดือน 5. มีการตรวจสอบรายงานสถานะการเงินของหน่วยงานให้ถูกต้อง 4.ด้านการบริหารงานบุคคล 1. มีการกำหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอนการสรรหา/คัดเลือก/แต่งตั้ง/ โยกย้าย/เลื่อนระดับ/เลื่อนขั้นเงินเดือนบุคลากรเป็นไปตามกฎระเบียบ 2. มีช่องทางการสื่อสารเปิดเผยขั้นตอน และผลการดำเนินการในแต่ละครั้ง 3. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านบริหารบุคคลของหน่วยงาน 4.ผู้บริหารมีการติดตาม/ลงโทษข้าราชการที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตด้านการ บริหารงานบุคคล

สรุปผลการประเมิน 4 ด้าน มี (ข้อ) คิดเป็น ร้อยละ ไม่มี (ข้อ) คิดเป็น ร้อยละ 1. ด้านการลงโทษ4100%00% 2. ด้านจัดซื้อจัดจ้าง6100%00% 3. ด้านการเงินและบัญชี5100%00% 4. ด้านการบริหารงานบุคคล4100%00% รวม19100%00%

หมายเหตุ : เรื่องยังไม้แล้วเสร็จ 8 เรื่อง อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอน 1.ให้หน่วยงานตรวจสอบ 5 เรื่อง 2.เสนอผู้ว่าฯแต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยร้ายแรง 1 เรื่อง 3.ระหว่างสอบสวนข้อเท็จจริง 2 เรื่อง

1. การบริหารการเงินการคลัง สรุปผลการนิเทศงานคณะที่ 3 - ผ่านเกณฑ์ 1.1 การควบคุมปัญหาทางการเงินระดับ 7 - ผ่านเกณฑ์ - ผ่านเกณฑ์ 1.2 ต้นทุนต่อหน่วยของรพ.ไม่เกินค่าเฉลี่ยกลุ่ม - ผ่านเกณฑ์ – ผ่านเกณฑ์ 2.1 ลดมูลค่าการใช้เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา – ผ่านเกณฑ์ - ผ่านเกณฑ์ 2.2 ร้อยละการจัดซื้อยาร่วม - ผ่านเกณฑ์ – ผ่านเกณฑ์ 3.1 การส่งเสริมป้องกัน – ผ่านเกณฑ์ – ผ่านเกณฑ์ 3.2 การป้องปรามตรวจสอบ – ผ่านเกณฑ์ - ผ่านเกณฑ์ 3.3 การแก้ไขปัญหา - ผ่านเกณฑ์ 2. การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ 3. ธรรมาภิบาล

จบการนำเสนอ