ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
Advertisements

LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
ผลผลิตที่ 1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
โครงงานวิทยาศาสตร์ (ว 23202)
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การบริหารคลังสินค้า.
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
แผนการผลิตรายบุคคล Individual Farm Production Plan (IFPP)
การดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว
13 October 2007
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2558
ผลการดำเนินงานที่สำคัญปี 2560 ตามนโยบายยกกระดาษ A4
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด
อธิบายข้อแตกต่างระหว่าง ศูนย์ฯที่ใช้ไฟล์เก่า กับศูนย์ฯที่เริ่มต้นใช้ไฟล์ใหม่ 1 กุมภาพันธ์ 2562.
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม ที่ติดต่อกันเป็น แปลงใหญ่ 2. เพื่อทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรอง ของเกษตรกรตลอด กระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การ แปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 3. ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในภูมิภาคทุก หน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมใน แปลงที่กำหนดใช้ระบบการส่งเสริมเป็นแปลงใหญ่ในแต่ละ จังหวัด 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม ที่ติดต่อกันเป็น แปลงใหญ่ 2. เพื่อทำให้เกิดขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ (Economy of Scale) เพื่ออำนาจการต่อรอง ของเกษตรกรตลอด กระบวนการผลิต (Production Process) และห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain) ได้แก่ การจัดการปัจจัยการผลิต เทคโนโลยี การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังการผลิต การ แปรรูปเบื้องต้น และการตลาด 3. ทำให้เกิดความสะดวกในการรวบรวมสรรพกำลังของ หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในภูมิภาคทุก หน่วยงาน เพื่อระดมให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมใน แปลงที่กำหนดใช้ระบบการส่งเสริมเป็นแปลงใหญ่ในแต่ละ จังหวัด เป้าหมาย 1. ดำเนินการในพื้นที่เป้าหมาย อาทิ พื้นที่ในเขต ชลประทาน พื้นที่ปฏิรูปที่ดิน พื้นที่ในเขตสหกรณ์นิคม และ พื้นที่เกษตรทั่วไป ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาการ เกษตรและสหกรณ์ ของจังหวัดพิจารณาคัดเลือก พื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อดำเนินการใน 76 จังหวัด 2. มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต การถ่ายทอด เทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การผลิต จนถึงการตลาด 3. มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการ ผลิต 4. ผลิตผู้จัดการภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเกษตรกรที่เป็น smart farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 5. ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ส่งเสริม ระบบการเกษตรแบบแปลงใหญ่เพื่อให้เห็นผลและเกิดการ ขยายผล 1. ดำเนินการในพื้นที่เป้าหมาย อาทิ พื้นที่ในเขต ชลประทาน พื้นที่ปฏิรูปที่ดิน พื้นที่ในเขตสหกรณ์นิคม และ พื้นที่เกษตรทั่วไป ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาการ เกษตรและสหกรณ์ ของจังหวัดพิจารณาคัดเลือก พื้นที่ที่มีศักยภาพ เพื่อดำเนินการใน 76 จังหวัด 2. มีการกำหนดเป้าหมายการผลิต การถ่ายทอด เทคโนโลยี การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การผลิต จนถึงการตลาด 3. มีข้อมูลเบื้องต้นและมีการประเมินผลโครงการทุกปีการ ผลิต 4. ผลิตผู้จัดการภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเกษตรกรที่เป็น smart farmer ตลอดจนการใช้แหล่งส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยีทั้งภาครัฐและเกษตรกรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด 5. ทุ่มเทสรรพกำลังของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ส่งเสริม ระบบการเกษตรแบบแปลงใหญ่เพื่อให้เห็นผลและเกิดการ ขยายผล

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขั้นตอน การดำเนินการ ขั้นตอน การดำเนินการ

(6) สพถ. ส่ง File ข้อมูล ( ตาม 5) ให้ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทำ การ TAB file กับฐานข้อมูลโครงการ พัฒนาภูมิปัญญาทางบัญชีสู่บัญชีต้นทุน อาชีพและโครงการพัฒนาเกษตรกร ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ทำการคัด แยกกลุ่มเป้าหมายเก่า - ใหม่ ( เป้าหมายเก่า เคยสอนบัญชีแล้ว เป้าหมายใหม่ยังไม่เคย สอนบัญชี ) จัดทำเป็น File Excel เพื่อให้ สตส. ใช้เป็นข้อมูลเป้าหมายที่รับการสอน แนะ (7) สพถ. รวบรวมข้อมูล ( ตาม 6) ส่ง File Excel ( ตาม 5) ให้ สตส. / กรมฯจัดสรร งบประมาณให้ สตส. ตามจำนวนเป้าหมาย รายจังหวัด เพื่อใช้ในการอบรมสอนแนะ การจัดทำบัญชี (8) สตส. ดำเนินการจัดอบรมสอนแนะการ จัดทำบัญชีโดยจัดหลักสูตรอบรมสอนแนะ การทำบัญชีให้สอดรับกับกลุ่มเป้าหมาย เก่า - ใหม่ (9) สตส. ติดตามผลการจัดทำบัญชี ภายหลังจากอบรมไปแล้ว 3 เดือน ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ร่วมบูรณาการในขั้นตอนที่ 4. “ การถ่ายทอดองค์ความรู้และ เทคโนโลยีให้แก่เกษตรกร ผู้เข้าร่วมโครงการ ” โดย (1) สตส. เข้าร่วมประชุม คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ ระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่า ราชการจังหวัดเป็นประธาน ทำหน้าที่ คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย (2) สพถ. เข้าร่วมประชุม คณะกรรมการขับเคลื่อนระบบการ ส่งเสริมการเกษตรให้เป็นแปลงใหญ่ และการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้า เกษตร ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 25 พ. ค.2558 รับทราบพื้นที่เป้าหมาย (3) สพถ. ส่งข้อมูลแปลงพื้นที่ เป้าหมายตามผลการคัดเลือกของ สศก. ( ตามหนังสือที่ กษ 1304/ ว 1573 ลว.15 พ. ค.2558) ให้ สตท และ สตส. 77 จังหวัด ( ตาม หนังสือ ที่ กษ 0406/ ว 246 ลว. 26 พ. ค.2558) (4) ผู้บริหารกรมฯ และ สพถ. เข้าร่วม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ ขับเคลื่อนระบบการส่งเสริม การเกษตรให้เป็นแปลงใหญ่ และการ ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร เมื่อ 26 พ. ค.2558 เพื่อรับมอบ นโยบายรัฐมนตรีว่าการฯ / ประธาน คณะกรรมการนโยบายและ แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ และ Action Plan ของกระทรวงฯ ( เอกสารประกอบ 1 และ 2) (5) สตส. ร่วมบูรณาการกับหน่วยงาน ในพื้นที่จังหวัด / คณะอนุกรรมการฯ จังหวัด ขอทราบรายละเอียดจำนวน เกษตรกร ตามเลขประจำตัว 13 หลัก และข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรแต่ละ รายในพื้นที่เป้าหมายของจังหวัด ตามตัวอย่างจังหวัดปทุมธานี ( เอกสาร ประกอบ 3) ในรูปแบบ File Excel และ ส่งข้อมูล File Excel ไปยัง สพถ. ภายใน 3 วัน นับแต่ได้รับข้อมูล