บทที่ 6 การใช้คำสั่ง อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
การใช้งาน Microsoft Excel
การใช้งาน Microsoft Excel
บทที่ 9 การส่ง ข้อมูลจาก MS Excel ไปยัง MS Word. การ Add Control ให้
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
บทที่ 8 การใช้งาน Control อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ระบบงานธุรการ (GA Center). นายวรากร หอมมณฑา รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ตำแหน่งงาน System Programmer.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro
เกม คณิตคิดเร็ว.
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทที่ 7 การสร้างกล่องรับข้อความ และ User Form
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro
Number system (Review)
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างภาษา C Arduino
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ครั้งที่4-5วิชาวาดเส้นTV การวาดหน้า
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การเขียน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
เรื่อง การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
Chapter 3 : Array.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
Google Scholar คืออะไร
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
คำสั่งหลักที่ใช้ในการสร้างตารางของภาษา HTML มีดังนี้
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การใช้คำสั่ง อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร

การใช้คำสั่ง Left, Right, Trim …

คำสั่งในบทเรียน Left(ActiveCell, n) ให้อ่านค่าทางด้านซ้าย มา n ตำแหน่ง ( รวมช่องว่าง ) Right(ActiveCell,n) ให้อ่านค่าทางด้านขวา มา n ตำแหน่ง ( รวมช่องว่าง ) Trim(String) ตัดช่องว่างทั้งซ้ายและขวาของ String ออก ส่วนคำสั่ง อื่นๆ อยู่ใน File Visual Basic. Net_01.pdf

ให้นิสิต บันทึกข้อมูลใน Excel ตาม ภาพ

ให้นิสิต Copy คำสั่งแล้วไปสร้าง Procedure ชื่อ Setsubtotal Sub SetSubTotal() Range("B3").Select Do While Not IsEmpty(ActiveCell.Value) ProductCode = Left(ActiveCell.Value, 3) BeginCell = ActiveCell.Offset(0, 1).Address Do While ProductCode = Left(ActiveCell.Value, 3) ActiveCell.Offset(1, 0).Select Loop Selection.EntireRow.Insert ActiveCell.Value = "Total" LastCell = ActiveCell.Offset(-1, 0).Address DataRange = BeginCell & ":" & LastCell ' ActiveCell.Offset(0, 1).Value = "=Sum(" & DataRange & ")" ActiveCell.Offset(0, 1).Formula = "=Sum(" & DataRange & ")" '''' มีผลลัพธ์เท่ากับ ActiveCell.Offset(0, 1).Value = "=Sum(" & DataRange & ")" ActiveCell.Offset(1, 0).Select Loop End Sub

แบบฝึกหัด 6.1 หลังจาก Run Program แล้วจะได้ผลลัพธ์ ดังภาพ จากนั้นให้นิสิตศึกษาโปรแกรมหา ผลลัพธ์ย่อยโดยแยกตามกลุ่ม รหัสสินค้า ดังนี้

แบบฝึกหัด 6.2 ให้นิสิตทำแบบฝึกหัด 10 นาที ให้ได้ตามคำสั่ง ให้นิสิตหา Grandtotal คือผลรวมทั้งหมด ให้กำหนดสีตามต้องการ ในตำแหน่งของ Subtotal และ Grandtotal

การลบ Subtotal ในการเขียนโปรแกรมในชีวิตจริง เราสามารถ Run Program ได้หลายครั้ง ซึ่งในการ Run Program ใหม่นั้น เราต้องการการคำนวณใหม่ที่ ถูกต้อง ซึ่งอาจจะต้องลบ Subtotal, Grand Total เดิมออกก่อนจากนั้นจึงทำการเริ่มคำนวณ ใหม่อีกครั้ง

ตัวอย่างคำสั่งลบ Subtotal และ Grand Total Sub deletetotal() Range("B3").Select Do While Not IsEmpty(ActiveCell.Value) If (ActiveCell.Value = "Subtotal" Or ActiveCell.Value = "Grand Total") Then Selection.EntireRow.Delete ActiveCell.Offset(-1, 0).Select End If ActiveCell.Offset(1, 0).Select Loop End Sub

แบบฝึกหัด 6.3 ให้นิสิตนำผลลัพธ์จาก แบบฝึกหัด 6.2 มาเพิ่มการทำงานให้ สามารถทำงานได้อย่างสมบูรณ์ในการ คำนวณหลายครั้งโดยศึกษาว่าจะเพิ่ม Procedure deletetotal ในส่วนใดของ โปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมสามารถทำงานดังนี้ 1. ลบบรรทัดของ Subtotal และ Grand Total ออกก่อนทำการคำนวณใหม่ ทุกครั้ง 2. ทำการคำนวณใหม่ให้ได้ผลลัพธ์ ตาม แบบฝึกหัด 6.2

การใช้คำสั่ง IsEmpty(ActiveCell.Value) ค่าของ Cell ที่กำลังทำงานนั้น เป็นค่าว่าง Do While Not IsEmpty(ActiveCell.Value) ทำในขณะที่ ค่าของ Cell ที่กำลังทำงานนั้น เป็นค่า ไม่ว่าง ( คือ มีข้อมูลใน Cell) หรือ ทำในขณะที่ ค่าของ Cell ที่กำลังทำงานนั้น มี ข้อมูลใน Cell Do While ActiveCell.Address <> ตัวแปร Cell ทำในขณะที่ ตำแหน่งที่ทำงานนั้น ไม่ใช่ ตัวแปร Cell ( ใน ex_6.5)

การกำหนด Border ให้กับ Total จากแบบฝึกหัด 6.3 มีข้อมูลดังนี้

Sub FormatTotal() Range("B3").Select Do While Not IsEmpty(ActiveCell.Value) If ActiveCell.Value = "Subtotal" Or ActiveCell.Value = "Grand Total" Then Range(Selection, Selection.End(xlToRight)).Select With Selection.Font.Name = "Arial".FontStyle = "Bold".Size = 12 End With With Selection.Borders(xlEdgeTop).LineStyle = xlContinuous.Weight = xlThin.ColorIndex = xlAutomatic End With With Selection.Borders(xlEdgeBottom).LineStyle = xlDouble.Weight = xlThick.ColorIndex = xlAutomatic End With End If ActiveCell.Offset(1, 0).Select Loop End Sub

แบบฝึกหัด 6.4 ให้เพิ่ม Procedure FormatTotal() ลงใน แบบฝึกหัด 6.3 Run Program ให้ได้ลัพธ์ดังนี้

การ Copy ข้อมูลลงในช่องว่าง แบบฝึกหัดสำหรับนิสิตศึกษาด้วยตนเอง เริ่มการทำงานจาก File Excel จากการแสดงข้อมูลดังกล่าว เป็น การแสดงข้อมูลที่นิยมจัดหมวดหมู่สินค้าชนิดเดียวกันให้ติดกัน ซึ่งสามารถแสดงข้อความ “ กลุ่มสินค้า ” เพียงข้อความบรรทัด เดียวได้ รูปแบบที่นิยม ดูง่าย สบายตาตามความคิด ของอาจารย์ค่ะ

แบบฝึกหัด 6.5 ให้สร้าง Procedure CopyData() จากตัวอย่างการแสดงข้อมูลใน Excel ก่อน หน้านี้หากผู้จัดทำรายงานมีความประสงค์ที่จะ แสดงรายละเอียดกลุ่มสินค้าทุกบรรทัด ผู้พัฒนา สามารถเขียนคำสั่งดังตัวอย่างๆ ในหน้าต่อไป ซึ่งอาจนำไปประยุกต์ให้เข้ากับการแสดงข้อมูล ในลักษณะอื่นได้ตามความเหมาะสม ซึ่งใน บางครั้งรูปแบบรายงานอาจขึ้นกับความต้องการ ของผู้ใช้งานด้วย

ตัวอย่างโปรแกรม Sub CopyData() Range("C3").Select Selection.End(xlDown).Select ActiveCell.Offset(1, -1).Select EndCell = ActiveCell.Address Range("B3").Select Code = ActiveCell.Value ActiveCell.Offset(1, 0).Select Do While ActiveCell.Address <> EndCell If IsEmpty(ActiveCell.Value) Then ActiveCell.Value = Code Else Code = ActiveCell.Value End If ActiveCell.Offset(1, 0).Select Loop End Sub

จากการ Run Procedure CopyData() จะได้ผลลัพธ์ดังนี้

หนังสืออ้างอิง เรียนลัด VBA บน Excel, วิศัลย์ พัวรุ่งโรจน์ Excel VBA Programming, วิชา ศิริธรรมจักร์ และสุรเชษฐ์ วงศ์ชัยพรพงษ์