นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน
จุดเน้นที่ 1 ด้านผู้เรียน จุดเน้นที่ 2 ด้านครูและบุคลากร ทางการศึกษา จุดเน้นที่ 3 ด้านการบริหาร จัดการ
โครงการคืออะไร ? โครงการ ( project ) เป็นส่วนหนึ่งของ แผนงาน ( program ) แผนงาน เป็นส่วนหนึ่งของ แผน ( plan ) แผน เป็นส่วนหนึ่งของ นโยบาย ( policy )
การประเมินผล (Evaluation) คืออะไร ? ศาสตราจารย์ ดร. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ ประธาน อำนวยการศูนย์อบรม การวิจัยนานาชาติ ( ไอ อาร์ ที ซี ) 1. เครื่องมือของการบริหารที่ใช้ในการตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงาน 2. กิจกรรมที่แสดงความรับผิดชอบของผู้บริหารที่ มุ่งหวังจะเพิ่ม ประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน 3. หลักฐานเชิงประจักษ์ที่จะบอกผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สาธารณชน และอื่นๆ เกี่ยวกับ ประโยชน์ ประสิทธิผลของการดำเนินงาน
การประเมินผล (Evaluation) คืออะไร ? 4. ความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ความ ถูกต้อง / ผิดพลาด ของการปฏิบัติงานที่ เกิดขึ้นจากการออกแบบโครงการและกระบวนการ ขั้นตอนของการปฏิบัติ 5. การปรับปรุงแก้ไขกระบวนการ ขั้นตอนและ กิจกรรมที่ขาดตกบกพร่อง
การตรวจสอบความก้าวหน้าของแผนงาน / โครงการ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ 1. วัตถุประสงค์ 2. การวางแผน 3. การดำเนินการ 4. ผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อกำหนดคุณค่า หรือค้นหาความสำเร็จตรงตาม วัตถุประสงค์หรือไม่
1. ทุกโครงการมีความไม่แน่นอนว่าจะประสบ ความสำเร็จ 2. เพื่อแสดงให้เห็นถึงความรับผิดชอบและความเป็น ผู้บริหารการจัดการที่ดีหรือการมีธรรมาภิบาล ( good governance ) 3. เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการ ตัดสินใจว่าจะทำโครงการหรือไม่ ควรแก้ไขปรับปรุง กระบวนการ ขั้นตอนหรือกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
1. เป็นเครื่องมือสำคัญช่วยให้การจัดการโครงการมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ให้สารสนเทศกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการกำกับ ยุทธศาสตร์ ของโครงการ ให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ 3. ให้สัญญาณเตือนล่วงหน้าเรื่องการแก้ไขกิจกรรม ตลอดจนกระบวนการบริหาร และจัดการ 4. เสริมพลังให้ผู้มีส่วนร่วมด้วยการเปิดโอกาสให้ วิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับทิศทาง ของโครงการและการตัดสินใจปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
ความจำเป็นใน การประเมินและ การรวบรวม ข้อมูลพื้นฐาน การวางแผน โครงการหรือ การปรับปรุง โครงการ การ ประเมินผล โครงการ การนำโครงการ ไปปฏิบัติ
1. จะประเมินอะไร 2. ทำไมถึงต้องประเมิน 3. ใครต้องการผลประเมิน 4. ใครจะทำการประเมิน 5. จะทำการประเมินอย่างไร 6. ผลที่คาดหวังจากการ ประเมิน
ดำเนินการใน 3 ลักษณะ 1. ศึกษาข้อมูล เอกสาร หลักฐาน 2. สัมภาษณ์บุคคลที่ เกี่ยวข้อง 3. แต่งตั้ง คณะกรรมการ / คณะทำงาน
1. การศึกษาข้อมูล เอกสาร หลักฐาน ต่างๆ ได้แก่ 1.1 บันทึกข้อความขออนุมัติโครงการ 1.2 โครงการ 1.3 ภาพถ่ายกิจกรรม 1.4 แบบสอบถาม 1.5 รายงานการประชุม
2. การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง ต่างๆ 2.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.2 ผู้ร่วมโครงการ 2.3 ผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการ
3. แต่งตั้งคณะกรรมการ / คณะทำงาน เพื่อติดตามประเมินผลโครงการต่างๆ โดยให้รายงานผล การประเมินต่อคณะกรรมการ ทุก 6 เดือน เป็นอย่างน้อย
ระยะที่ 1 ประเมินผลก่อนเริ่ม แผนงาน / โครงการ ระยะที่ 2 ประเมินผลขณะดำเนิน โครงการซึ่งอาจ ดำเนินการเป็นช่วง เป็น ระยะ เช่น ทุก 3 เดือน / ทุก 6 เดือน / ทุกปี ระยะที่ 3 ประเมินผลเมื่อสิ้นสุด โครงการ
การรายงาน คือ การเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการ ดำเนินงาน ของบุคคล หรือ หน่วยงาน เป็นสิ่งจำเป็นและสำคัญในการ บริหารงานทั้งภาครัฐ และเอกชน เพราะ จะบรรจุข้อมูลพื้นฐานด้านนโยบาย เป้าหมาย ผลการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคต่างๆ ในการดำเนินงาน
1. วัตถุประสงค์ของการรายงาน 2. คำนึงว่าผู้อ่านรายงานเป็นใคร และ ควรพิจารณาความคุ้มค่า การลงทุนตลอดจนการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 ทิศทางการจัดการศึกษา ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 4 บทสรุป / ปัญหา / อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะ / ภาคผนวก ( ถ้ามี )
1. ชื่อโครงการ ลักษณะโครงการ 2.1 ใหม่ ต่อเนื่อง 2.2 แก้ไขปัญหา / ปรับปรุง พัฒนา นโยบาย 3. ผลสำเร็จของการดำเนินงาน 3.1 วัตถุประสงค์ ครบ / ตรงตามวัตถุประสงค์ ไม่ครบ / ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ เพราะ เป้าหมาย แผนที่กำหนดไว้ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2
3.3 กิจกรรมการดำเนินงาน แผนที่กำหนดไว้ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ งบประมาณ บาท แผนที่กำหนดไว้ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ ผลสำเร็จที่ได้รับจากกิจกรรมการดำเนินงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จแผนกำหนดผลการ ดำเนินงาน ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome)
4. ปัญหา / อุปสรรค แนวทางแก้ไขข้อเสนอแนะ ( ลงชื่อ ) ผู้รายงาน / ผู้รับผิดชอบโครงการ ( ) ( ลงชื่อ ) รองผู้อำนวยการ โรงเรียน ( ) ( ลงชื่อ ) ผู้อำนวยการโรงเรียน ( )