ส่วนผสมการตลาดและประโยชน์ที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลากลางคืนและความพอใจของผู้ใช้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เสนอ โดยกลุ่มที่ 3 sec.3213
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาส่วนผสม ทางการตลาดของ สนามฟุตบอล ในเวลา กลางคืนที่มีผลต่อความ พึงพอใจของ ผู้ใช้บริการในเขต กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรม การใช้บริการสนาม ฟุตบอลในเวลา กลางคืนที่มีผลต่อความ พึงพอใจของ ผู้ใช้บริการในเขต กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
ขอบเขตการ วิจัย ตัวแปรอิสระ คือ 1. ส่วนผสมทาง การตลาด 2. พฤติกรรม ตัวแปรตาม คือ 1. ความพึงพอใจ A= ส่วนผสมทางการตลาด, B= พฤติกรรม, C= ความพึงพอใจ
สมมติฐานการวิจัย A = ส่วนผสมทาง การตลาดมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับความพึงพอใจ ของผู้บริการในเขต กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลเพิ่มขึ้น B = พฤติกรรมการการใช้ บริการสนามฟุตบอลใน เวลากลางคืน มี ความสัมพันธ์เชิงบวกกับ ความพึงพอใจของผู้บริการ ในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลเพิ่มขึ้น c = ส่วนผสมทาง การตลาดและพฤติกรรมการ การใช้บริการสนามฟุตบอล ในเวลากลางคืนมี ความสัมพันธ์บวกกับความ พึงพอใจของผู้บริการใน เขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลเพิ่มขึ้น
ประเภท งานวิจัย การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Approach) โดย การสำรวจกลุ่มตัวอย่าง (Survey) โดยใช้แบบสอบถาม
ประชากรใน การศึกษา ประชากรในการศึกษา คือ ผู้ใช้ที่ใช้บริการสนาม ฟุตบอลในเวลากลางคืนใน เขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล จำนวน แบบสอบถาม 400 ชุด 1 ชุด ต่อ 1 คน
จำนวนผู้ที่ใช้บริการสนามฟุตบอลในเวลากลางคืนในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
วิธีการสุ่มตัวอย่าง แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)
เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย 1. ข้อมูลส่วนบุคคลของ กลุ่มตัวอย่าง (Personal Characteristics) 2. ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) 3. พฤติกรรมการใช้บริการ สนามฟุตบอลในเวลา กลางคืน (Service Football Club at Night Behavior) 4. ความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการ (Complacency of Users) การวัดและมาตรวัด
- คำถามข้อมูลส่วนบุคคลใช้มาตราวัดนามบัญญัติ ( เป็น การสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม เพื่อวัดตัวแปรเกี่ยวกับ คุณลักษณะของผู้บริโภค มีข้อ คำถามปลายปิด ทั้งหมด 6 ข้อ ) - คำถามส่วนที่ 2-4 ใช้มาตรวัดนามบัญญัติ และอันตรภาค โดยให้ประเมินคะแนนความเห็นด้วย 5 ระดับตามวิธีของ ลิเคิร์ท
ตัวอย่าง แบบสอบถาม ตัวแปร ที่ 1
ตัวอย่างแบบสอบถาม ตัวแปรที่ 2
ตัวอย่างแบบสอบถาม ตัวแปรที่ 3
ตัวอย่างแบบสอบถาม ตัวแปรที่ 4
การประเมินคุณภาพเครื่องมือวัด ผู้วิจัยได้ทำการทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) และความ น่าเชื่อถือได้ (Reliability) ของแบบสอบถาม การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล