งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม ธันวาคม 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม ธันวาคม 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมชี้แจง การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม ธันวาคม 2557 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 1

2 หัวข้อการประชุม ผลงานตามคำรับรองฯ กรมอนามัย 2557
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ 2558 24 ธ.ค. เช้า เกณฑ์ตัวชี้วัดมิติประสิทธิผล ศอ.1-12 เกณฑ์ตัวชี้วัดมิติการพัฒนาองค์การ 24 ธ.ค. บ่าย การส่งผลงานเข้าประกวดรับรางวัล 25 ธ.ค. เกณฑ์ตัวชี้วัดมิติประสิทธิภาพ การรายงานและการประเมินผล

3 ผลการดำเนินงานตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ กรมอนามัย 2557
ผลการดำเนินงานตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ กรมอนามัย 2557 แนวทางการพัฒนาระบบราชการ 2558 ..... ลาวัณย์ ขำเลขะสิงห์ .....

4 ผลการประเมินตนเองตามคำรับรองฯกรมอนามัย 2557
1.1 เขตสุขภาพดำเนินการตามแผน 5.00 1.2 พัฒนาการสมวัย 1.3 การคลอดในวัยรุ่น15-19ปี 4.80 1.4 ส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์HAS 3.80 1.5 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 1.07 3.1 เบิกจ่ายงบภาพรวม 4.56 3.2 เบิจ่ายงบลงทุน 2.52 การประหยัดพลังงาน 3.52 ระบบสารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาสมรรถนะองค์การ 7. ระบบคุณธรรมและความโปร่งใส 3.40 3.9739

5 ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557
มิติประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3ตัวชี้วัด) มิติคุณภาพบริการ ไม่กำหนดเป็นตัวชี้วัด ระดับหน่วยงาน มิติภายนอก มิติภายใน มิติประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต มิติพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. ตัวชี้วัดหมวด 2 6. ตัวชี้วัดหมวด 3 7. ตัวชี้วัดหมวด 4 8. ตัวชี้วัดหมวด 5 9. ตัวชี้วัดหมวด 6 5

6 วิเคราะห์การจัดทำคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน 1/3
ตัวชี้วัดมิติประสิทธิผล - ปี กำหนดตัวชี้วัดจำนวนมาก ตัวชี้วัดจึงไม่เป็นตัวชี้วัด สำคัญ “Key Performance Indicator” ปี ให้หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์/ภารกิจ หลัก 1-3 ตัว  ไม่ท้าทาย ไม่แสดงการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น ไม่ได้กำหนดเนื้องานเป็นตัวชี้วัดของศูนย์ แต่ให้มีการรายงานผล การดำเนินงานในระบบ DOC ของกรม  เนื้องานตามยุทธศาสตร์/ภารกิจหลัก ได้ข้อมูลไม่ครบ  การถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับกรมสู่หน่วยงาน ไม่ชัดเจน มิติคุณภาพบริการ ดำเนินการบางหน่วยงาน และร่วมดำเนินกับหมวด 3 ของกรม 6

7 วิเคราะห์การจัดทำคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน 2/3
ตัวชี้วัดมิติประสิทธิภาพ ดำเนินการตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด คือ การเบิกจ่าย งบประมาณ การประหยัดพลังงาน การปราบปรามการทุจริต ตามแนวทางที่ ปปช.ประเมินกรม ตัวชี้วัดมิติพัฒนาองค์กร ทำ PMQA เฉพาะในภาพรวมของกรม โดยส่วนที่ต้องการให้ หน่วยงานร่วมดำเนินการ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน  หน่วยงานไม่เห็นภาพการพัฒนาองค์กรของตัวเอง (แค่ทำตัวชี้วัด) 7

8 วิเคราะห์การจัดทำคำรับรองฯ ระดับหน่วยงาน 3/3
วิธีการประเมินผล เกณฑ์การประเมินบางตัวชี้วัด ประเมินรายละเอียดย่อยๆ ซ้ำซ้อน เช่น การส่งทันเวลา ซึ่งซ้ำกับกำหนด ส่งรายงาน SAR วัดกระบวนการทำงาน แต่ไม่เห็นผลผลิต/ผลลัพธ์ ผลการประเมิน นำไปใช้ประโยชน์ได้น้อย การประเมินใช้เอกสาร/หลักฐานจำนวนมาก (จำเป็น/ไม่จำเป็น) เป็นภาระงานเอกสาร ผู้ปฏิบัติงาน กพร. /เครือข่าย ผู้รับผิดชอบงาน กพร. เปลี่ยนแปลงบ่อย คนทำงาน กพร.เบื่อหน่าย ไม่สนุกกับงาน 8

9 กรอบแนวคิดในการออกแบบ แนวทางการพัฒนาระบบราชการ 2558
In put Process Out put Out come - ผลงาน 2557 - การวิเคราะห์กระบวนการ คะแนนคำรับรองฯ ของกรม > 4.0 คะแนน 1 ใน5 ของก.สธ. กระบวนการ พัฒนาระบบราชการ ทุกหน่วยงานใช้ เครื่องมือ PMQA - มีรายงาน PMQA Application report ผ่านการรับรอง ระดับพื้นฐาน Fundamental Level - เกณฑ์ประเมิน ของสำนักงาน ก.พ.ร. 2558 - นโยบายชาติ กระทรวงและกรมอนามัย สามารถส่งผลงาน คุณภาพบริการ และการมีส่วนร่วม ได้รับรางวัล คุณภาพการ ให้บริการ การมีส่วนร่วม 9

10 กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ปี 2558
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1 การพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA 2 การส่งผลงานเข้าประกวดรับรางวัล ด้านการพัฒนาระบบราชการ 3 10

11 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กระบวนการพัฒนาระบบราชการ ปี 2558 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 1 11

12 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการปี 2558 กรมอนามัย
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 65) 1. ตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกระทรวง/ ยุทธศาสตร์ประเทศ/ภารกิจกรม และตัวชี้วัดของกระทรวง ที่มี เป้าหมายร่วมกัน (Joint KPI) 1.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัย 1.2 เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน 1.3 อัตราการคลอดแม่วัยรุ่น 1.4 รพ.สต./ศสม.ให้บริการสุขภาพช่องปาก 1.5 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1.6 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ 10) 2. คุณภาพการให้บริการประชาชน (Service Level Agreement : SLA) (กระบวนการรับรองมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร) มิติภายนอก (ร้อยละ 75) มิติภายใน (ร้อยละ 25) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ 15) 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ (5) (รายจ่ายภาพรวม /รายจ่ายลงทุน) 4. การประหยัดพลังงาน (5) (ไฟฟ้า / น้ำมัน) 5. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบ (5) สารสนเทศภาครัฐ การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ 10) 6. การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (5) (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และ วัฒนธรรมองค์การ) 7. ระบบคุณธรรมและความโปร่งใส (5) ในการดำเนินงาน 12

13 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่หน่วยงาน
หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบตัวชี้วัดกรม หน่วยวิชาการ ศอ.1-12 สำนักส่งเสริมสุขภาพ รับผิดชอบ กระบวนงานรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร - ทุกหน่วยงาน พัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA - เจ้าภาพหมวด ดูภาพรวมของกรม ทุกหน่วยงาน - เบิกจ่ายงบประมาณ - ประหยัดพลังงาน - ระบบคุณธรรมและความโปร่งใส กองแผนงานรับผิดชอบระบบสารสนเทศภาครัฐ 13

14 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองฯ
ระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558 ประเด็นการประเมินผล ตัวชี้วัด คะแนน มิติภายนอก การประเมินประสิทธิผล 1. ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์และภารกิจหลักของหน่วยงาน 500 การประเมินคุณภาพ ไม่กำหนดเป็นตัวชี้วัด - มิติภายใน การประเมินประสิทธิภาพ 2. ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 100 3. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการ ประหยัดพลังงาน 4. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส การพัฒนาองค์การ 5. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การตามแนวทางPMQA 200 รวม 1,000 14

15 Q&A 15

16 ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดมิติการประเมินประสิทธิผล
ตัวชี้วัดของศูนย์อนามัยที่ 1-12 ใช้คู่มือการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ 16

17 ศูนย์อนามัยที่ 1 - 12 ตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ
1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย  ร้อยละของ MCH Booard ระดับจังหวัด มีกลไกในการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก  ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ สำนักส่งเสริมสุขภาพ 2. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน สำนักโภชนาการ 3. จำนวนของ รพ.สป.ผ่านเกณฑ์ สถานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนฉบับบูรณาการ   สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ 4. ร้อยละของ รพ.สต./ ศสม.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ สำนักทันตสาธารณสุข 5. ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 6. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 17


ดาวน์โหลด ppt ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ หลักสี่ กทม ธันวาคม 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google