งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หน่วยที่ 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หน่วยที่ 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หน่วยที่ 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
. ระบบส่งจ่ายไฟฟ้า ระดับแรงดันสำหรับสายส่งแรงสูง ส่งจากโรงไฟฟ้า ระหว่างสถานีไฟฟ้า 69kv 115kv kv 500kv อยู่ในความรับผิดชอบของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ระดับแรงดันสำหรับระบบจำหน่ายแรงสูง สถานีไฟฟ้าย่อยระบบจำหน่าย ไปยังหม้อแปลงระบบจำหน่าย 11kv 22kv 33kv 22kv 24kv ระดับแรงดันสำหรับระบบจำหน่ายแรงต่ำ -ระบบ1 เฟส 2 สาย 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ -ระบบแรงต่ำ 3 เฟส 4 สาย 380 โวลต์ 50 เฮิรตซ์

2 กระแสไฟฟ้าแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
ไฟฟ้ากระแสตรง (direct current : DC) คือการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนมีทิศทางการไหลในทิศทางเดียวจากขั้วลบไปยังขั้วบวก เช่นแบตเตอรี่รถยนต์ 24 volt ถ่านไฟฉาย 1.5 volt ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternating current: AC) เป็นการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนมีทิศทางไหลกลับไปกลับมาตลอดเวลา โดยการเคลื่อนที่ประจุไฟฟ้าบวกและลบสลับกันในตัวนำสาย เช่น ไฟฟ้าตามบ้าน220 โวลต์ 50 เฮิรตซ์

3 หน่วยวัดทางไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า (resistance) เป็นคุณสมบัติของสสารที่ต่อต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า สสารที่มีความต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่าเรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า ส่วนสสารที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากกว่าเรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า ความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม แรงดันไฟฟ้า (voltage) เป็นแรงที่ทำให้อิเลคตรอนเกิดการเคลื่อนที่ หรือแรงที่ทำให้เกิดการไหลของไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวล์ท V กระแสไฟฟ้า (current) เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ภายในตัวนำไฟฟ้า หน่วยเป็น แอมแปร์ A กำลังงานไฟฟ้า (power) อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน หรืออัดตราการทำงาน มีหน่วยเป็น วัตต์ watt W พลังงานไฟฟ้า (energy) คือ กำลังไฟฟ้าที่ใช้ไประยะหนึ่ง มีหน่วยเป็น วัตต์-ชั่วโมง (watt-hour) หรือ ยูนิต(unit) ความถี่ (frequency) คือจำนวนรอบของกระแสไฟฟ้าสลับ มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ Hz รอบ (cycle) คือการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าครบ 360 องศาซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงไฟฟ้าค่าบวกและค่าลบได้สมบูรณ์ แรงม้า (horse power) หรือกำลังม้า เป็นหน่วยวัดกำลังหรืออัตราการทำงาน 1 แรงม้า = 550 ฟุต-ปอนด์ หรือ วัตต์ ประมาณ 746 วัตต์

4 สมการไฟฟ้า กฎของโอห์ม (ohm’s low) ค.ศ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน George Simon Ohm กล่าวว่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจรจะแปรผันตรงกับแรงดันไฟฟ้าและแปรผกผันกับค่าความต้านทาน E = IR สมการค่ากำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ P=EI สมการค่าพลังงานไฟฟ้า W = Pt กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง หรือยูนิต(unit)

5 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น - วงจรอนุกรม กระแสไฟฟ้าตลอดวงจรมีค่าเดียวกันตลอด แรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากับแรงดันที่ตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัว

6 วงจรขนาน(parallel circuit) กระแสไฟฟ้าไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัว รวมกันจะเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากแหล่งจ่าย แรงดันตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัว มีค่าเท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแหล่งจ่าย

7 ส่วนประกอบของสายไฟฟ้า
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ตัวนำ และฉนวน . ประเภทของสายไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ สายไฟฟ้าแรงดันสูง และสายไฟฟ้าแรงดันต่ำ - สายไฟฟ้าแรงดันสูง มีสายเปลือย และสายหุ้มฉนวน - สายไฟฟ้าแรงดันต่ำ ใช้กับแรงดันไม่เกิน 750 โวล์ท

8 การเลือกสายไฟฟ้าที่เหมาะสม
พิกัดแรงดัน พิกัดกระแส สายควบ แรงดันตก (voltage drop)

9 อุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้า
- ฟิวส์ (fuse) อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ทำมาจากโลหะผสมสามารถนำไฟฟ้าได้ดี มีจุดหลอมละลายต่ำ ฟิวส์ที่ดี เมื่อกระแสไหลเกิน 2.5 ของขนาดทนกระแสของฟิวส์ ฟิวส์ต้องขาด - เซอร์กิตเบรกเกอน์ (circuit breaker :CB) อุปกรณ์ทำหน้าที่ตัดกระแสไฟฟ้า เมื่อกระแสเกินหรือลัดวงจร สามารถกลับมาใช้ใหม่ได้ไม่เปลี่ยนใหม่เหมือนฟิวส์ การทำงานมี 2 แบบคือ เชิงความร้อน และเชิงแม่เหล็ก

10 วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง ประเภทของหลอดไฟฟ้า มีหลอดไส้ หลอดทัวสเตนฮาโลเจน หลอดเรืองแสง เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์

11 ประเภทของมอเตอร์ - มอเตอร์เหนี่ยวนำ (induction motor) นิยมใช้มา มี 1 เฟส และ 3 เฟส แบบกรงกระรอก และ แบบวาวด์โรเตอร์ - มอเตอร์ซิงโครนัส (synchronous motor) เป็นมอเตอร์ 3 เฟส มีขดลวดอาร์เมเจอร์ และขดลวดสนาม ความเร็วคงที่ - มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC motor) มีขดลวดสนามอยุ่บนสเตเตอร์และขดลวดอาร์เมเจอร์อยู่บนสเตเตอร์ สามารถควบคุมความเร็วได้ดี แรงบิดเริ่มเดินเครื่องสูง

12 อุปกรณ์ที่สำคัญในการควบคุมมอเตอร์

13 การต่อลงดิน 1. ประเภทของการต่อลงดิน แบ่งเป็น 2 ประเภท
หมายถึงการต่อสายไฟฟ้าจากอุปกรณ์ไฟฟ้าไปยังสายดิน โดยสายดินคือแท่งตัวนำทองแดงที่ตอดลงไปในดิน เพื่อป้องกันไฟรั่วซ๊อตบุคคลผู้ใช้งาน 1. ประเภทของการต่อลงดิน แบ่งเป็น 2 ประเภท การต่อลงดินที่ระบบไฟฟ้า หมายถึง การต่อส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบไฟฟ้าที่มีกระแสไหลผ่านลงดิน เช่น การต่อจุดนิวทรัล (neutral point) ลงดิน การต่อลงดินที่อุปกรณ์ไฟฟ้า หมายถึงการต่อส่วนที่เป็นโลหะ ที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านของอุปกรณ์ต่างๆ ลงดิน 2. ส่วนประกอบการต่อลงดิน - หลักดิน หรือระบบหลักดิน (grounding electrode) เป็นหลักดิน นิยมใช้ทองแดง - สายต่อหลักดิน

14 ล่อฟ้า

15 หน่วยที่ 11 ระบบควบคุมทางวิศวกรรม

16

17 องค์ประกอบของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต ประกอบด้วย
6 องค์ประกอบ คือ 1) เครื่องจักรอุปกรณ์ในการผลิต 2) เครื่องมือวัด 3) เครื่องส่งสัญญาณ 4) สายสัญญาณ 5) เครื่องควบคุม 6) เครื่องบันทึกสัญญาณ

18 เครื่องมือ อุปกรณ์ควบคุมทางนิวแมติก
ส่วนประกอบของเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานและควบคุมการทำงานของระบบนิวแมติกมีดังต่อไปนี้ - เครื่องอัดลม - เครื่องระบายความร้อนของลมอัด - เครื่องทำลมแห้ง - ชุดทำความสะอาดลม - ลิ้นหรือวาล์วลดความดัน - วาล์วควบคุม - ระบบหล่อลื่นในระบบนิวแมติก - กระบอกสูบ - วงจรไฟฟ้าควบคุม หม้อเก็บลมอัด เครื่องอัดลม เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน เครื่องทำลมแห้ง

19 การควบคุมอัตโนมัติโดยประยุกต์ใช้งานระบบโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์
โครงสร้างของตัวเครื่องโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ (พีแอลซี) นั้นประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก 1. หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หรือไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) เป็นหน่วยการทำงานที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลกลาง และควบคุมการสั่งงานของระบบการทำงาน 2. หน่วยความจำ (program หรือ memory unit) เป็นหน่วยของเครื่องที่ทำหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมควบคุมการทำงาน ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้สามารถถูกนำออกมาใช้ได้ตามต้องการ 3. หน่วยรับสัญญาณอินพุต (input unit) จะเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อสัญญาณจากอุปกรณ์ภายนอกที่จะนำมาเชื่อมต่อใช้งานกับตัวโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ มี และแรมต้องจ่ายไฟเลี้ยง และแบบรอมอยู่ในรูปโมดูล 4. หน่วยส่งสัญญาณเอาต์พุต (output unit) จะเป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อสัญญาณจากอุปกรณ์ที่จะนำมาเชื่อมต่อใช้งานกับตัวโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์ สัญญาณแบบอนาล็อก หรือ ดิจิตอล 5. หน่วยจ่ายกำลังไฟฟ้า (power supply unit) ทำหน้าที่ในการจ่ายกำลังไฟฟ้าให้กับตัวโปรแกรมมาเบิ้ลลอจิคอลคอนโทรลเลอร์

20 PLC

21

22

23 การควบคุมอัตโนมัติโดยประยุกต์ใช้งานระบบควบคุมกลางกระจายการควบคุม ดีซีเอส (distributed control system: DCS) วัตถุประสงค์ของการออกแบบระบบดีซีแอส เป็นความต้องการออกแบบมาใช้ในการควบคุมระบบในลักษณะการกระจายการควบคุม หน่วยการผลิต ควบคุมการทำงานของระบบการผลิตแบบต่อเนื่อง (continuous process) การทำงานของระบบดีซีแดส ระบบควบคุมแบบ พีแอลซี ในระบบ ดีซีเอส การควบคุมด้วยอุปกรณ์ประเภท พีแอลซี จะสั่งการผ่านอุปกรณ์ควบคุม เช่น การใช้คอมพิวเตอร์บุคคล (personal computer) ผู้ควบคุมระบบจะสามารถทำการตรวจสอบติดตามผล และสั่งการโปรแกรมได้

24 หน่วยที่ 12 หน่วยการผลิตและกระบวนการผลิตทางวิศวกรรมเคมี
การผลิต หรือกระบวนการผลิต (Manufacturing Process) หมายถึง การนำเอาวัตถุดิบที่เป็นสสารหรือสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งที่อยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว หรือ ก๊าซ ที่เรียกว่าสารตั้งต้น (reactant) มาทำการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางด้านกายภาพ ทางด้านเคมี ให้เป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้าการ(Product หรือ Goods) ที่ทำให้คุณสมบัติของสารเปลี่ยนไปจำเป็นต้องมีปัจจัยหรือกระบวนการทางด้านกายภาพ หรือกระบวนการทางด้านเคมีเสริมได้แก่ อุณหภูมิ ความดัน โดยมีถังปฎิกิริยาเคมี หรือเครื่องปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reactor งานวิศวกรรมเคมี (Chemical Engineering) หรือวิศวกรรมระบบ (Process Engineering) เป็นการศึกษาการออกแบบ การควบคุมการทำงานของกระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรมที่เน้นการเลือกกระบวนการปฏิกิริยาเคมี เลือกเงื่อนไขการผลิต การควบคุมการปฏิบัติการที่เหมาะสม

25 จลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาแบบกวนผสม
เครื่องปฏิกิริยาเคมีแบบกะ (Batch Reactor) หลักการทำงานเบื้องต้นของถังปฏิกิริยาเคมีคือการนำสารตั้งต้น หรือสารนำเข้า (reactants หรือ feed) ใส่เข้าไปในถังปฏิกิริยาเคมีในปริมาณที่คำนวณไว้ แล้วให้มีการกวนผสม (Mixing) ให้เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอย่างสมบูรณ์

26 เครื่องปฏิกิริยาหลายถังแบบต่อเนื่อง (Multiple Continuous Reactor )
เป็นเครื่องปฏิกิริยาเคมีที่มีการเอาถังกวนผสมแบบสมบูรณ์หลายถัง (Continuous Stirred Tank Reactor : CSTR) ต่ออนุกรมกันซึ่งสามารถกำหนดให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นในแต่ละถังมีค่าสม่ำเสมอ (Uniform) และเท่ากับค่าความเข้มข้นในของไหลที่ไหลออกของแต่ละถัง

27 เครื่องปฏิกิริยาเคมีแบบท่อไหล (Tubular Reactor หรือ Plug Flow Reactor)
เป็นเครื่องปฏิกิริยาเคมีที่มีโครงสร้างคล้ายกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนระบบท่อ (Heat Exchanger) ที่มีการไหลในท่อไหลขนานกันหลายท่อ

28 กระบวนการผลิตและระบบการผลิตในงานอุตสาหกรรม
ปฏิกิริยาดูดซับระหว่างก๊าซกับของแข็ง ปฏิกิริยาดูดซึมระหว่างก๊าซกับของเหลว

29 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
หน่วยที่ 13 พื้นฐานวิศวกรรมอุตสาหกรรม วิศวกรรมอุตสาหการ คือการวิเคราะห์อย่างละเอียดถึงการทำงาน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับแรงงาน วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ เพื่อให้องค์กรสามารถเพิ่มผลิตภาพ มีกำไรและประสิทธิภาพการทำงานสูงขึ้น การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน แหล่งวัตถุดิบ ตลาด แรงงานและค่าจ้าง สาธารณูปโภค การจราจรขนส่ง สิ่งแวดล้อม กรรมสิทธิ์ที่ดิน กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

30 การวางผังโรงงานและแผนภูมิการไหลของวัสดุ
การวางผังโรงงานแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ใหญ่ๆ ด้วยกันคือ 1 การวางผังโรงงานตามชนิดของผลิตภัณฑ์ (product layout)

31 2 การวางผังโรงงานตามกระบวนการผลิต (process layout)

32 3 การวางผังโรงงานแบบตำแหน่งงานคงที่ (fixed position layout)

33 4 การวางผังโรงงานแบบผสม

34 รูปแบบในการไหลของวัสดุ
1) การไหลแบบเส้นตรง เป็นการไหลของวัสดุง่ายๆ ตามขั้นตอนการผลิต พื้นที่อาคารโรงงานจะต้องมีความยาวเพียงพอ ด้านข้างของอาคารทั้ง 2 ด้านอาจจะออกแบบเป็นสำนักงานหรือหน่วยงานสนับสนุน เช่น แผนกซ่อมบำรุง แผนกออกแบบ เป็นต้น 2) การไหลแบบตัวเอส หรือซิกแซก เหมาะสำหรับกระบวนการผลิตที่ยาวมากและมีพื้นที่โรงงานที่สั้นกว่า มีการป้อนเข้าของวัตถุดิบและการไหลออกของผลิตภัณฑ์คนละด้านของอาคารโรงงาน

35 3) การไหลแบบตัว ยู เหมาะสำหรับกระบวนการผลิตที่ยาวมาก แต่มีพื้นที่โรงงานที่สั้นกว่า มีการป้อนวัตถุดิบและการไหลออกของผลิตภัณฑ์ด้านเดียวกัน 4) การไหลแบบวงกลม เหมาะสำหรับกระบวนการผลิตที่มีความยาวมาก อาคารโรงงานที่มีลักษณะทรงจัตุรัส วัสดุและสินค้าเข้า – ออก จุดเดียวกัน เช่น แผนกรับ-ส่งสินค้าและวัตถุดิบอยู่ ณ จุดเดียวกัน 8 7 6 5 1 2 3 4 วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ 1 2 3 4 5 6 7 วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์

36 5) การไหลแบบไม่เป็นรูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 13
5) การไหลแบบไม่เป็นรูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ เหมาะสำหรับอาคารโรงงานที่มีข้อจำกัดเรื่องพื้นที่และจุดติดตั้งเครื่องจักรขนาดใหญ่ สิ่งอำนวยความสะดวกที่ติดตั้งถาวรอยู่ก่อนแล้ว จำเป็นต้องจัดสายการผลิตให้เข้ากับสิ่งที่มีอยู่ 2 4 5 6 วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ 1 3

37

38 1. พัสดุคงคลังประกอบด้วย
1) วัตถุดิบ 2) วัสดุในงานระหว่างทำ 3) วัสดุซ่อมบำรุง 4) สินค้าสำเร็จรูป 2. ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับพัสดุคงคลัง 1) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ 2) ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 3) ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน 4) ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักรใหม่ ลำดับความสำคัญในการวิเคราะห์งาน คือ - มีความเร่งด่วน - มีต้นทุนการผลิตสูง - มีความต้องการความชำนาญสูง - มีความเสี่ยงสูง

39

40 หน่วยที่ 14 อันตรายจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
ระบบการผลิตนั้นประกอบไปด้วย 4ขั้นตอน 1. วัตถุดิบนำเข้า 2. กระบวนการ 3. ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์ 4. ข้อมูลป้อนกลับ

41 ประเภทการผลิต4 ประเภท 1. กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง
2. กระบวนการผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง 3. กระบวนการผลิตแบบผลิตซ้ำ 4. กระบวนการผลิตแบบงานโครงการ

42 ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณาในการออกแบบกระบวนการผลิต
ปัจจัยสำคัญฯ เหล่านั้นได้แก่ 1. ปัจจัยผลิตภัณฑ์ 2. ปัจจัยทางวัสดุ 3. ปัจจัยเครื่องจักร 4. ปัจจัยการผลิต 5. ปัจจัยต้นทุน

43 สิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ก่อให้เกิดอันตราย แก่ผู้ปฏิบัติงานทางด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
แบ่งออกได้ 5 ประเภทคือ 1. สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ 2. สิ่งแวดล้อมทางด้านเคมี 3. สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ 4. สิ่งแวดล้อมทางด้านเออร์โกโนมิคส์ 5. สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตสังคม

44 อันตรายจากกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร์
การเตรียมเยื่อกระดาษมี 2 วิธีการ - การเตรียมเยื่อกระดาษโดยกระบวนการทางเคมีและ - การเตรียมเยื่อกระดาษโดยใช้เครื่องจักร อันตรายจากอุตสาหกรรมหลอมเหล็ก เกิดจาก ฝุ่น ความร้อน ก๊าซ CO 2 โลหะหนักหลายชนิด อันตรายจากกระบวนการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ 1. กระบวนการตัดเวเฟอร์ ได้แก่ ฝุ่นที่อยู่ในรูปของตะกอนเปียกของสารหนู (arsenic) 2. กระบวนการเชื่อมชิพลงบนแผ่นเฟรม ได้แก่ ไอระเหยของอะซิโตน 3. กระบวนการหุ้มชิพและเส้นลวดด้วยเรซิน ได้แก่ สารพลวงและ สารประกอบโบรมีน

45 เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม หมายถึง การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในทางวิศวกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยวัดจากคุณค่าของผลงานด้านวิศวกรรม ซึ่งประกอบด้วย - ประสิทธิภาพเชิงกายภาพ - ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐศาสตร์ การคำนวณรายได้ประชาชาติ มี 3 วิธี คือ - การคำนวณรายได้ประชาชาติด้านผลิตภัณฑ์ - การคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายได้ - การคำนวณรายได้ประชาชาติด้านรายจ่าย

46 อุปสงค์ หมายถึง ปริมาณความต้องการสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อได้และมีความเต็มใจที่จะซื้อ อุปทาน หมายถึง ปริมาณการเสนอขายสินค้าหรือบริการที่ผู้เสนอขายยินดีขายสินค้าหรือบริการนั้น ๆ ด้วยความเต็มใจ จุดดุลยภาพ หมายถึง จุดที่เส้นอุปสงค์และเส้นอุปทานตัดกัน ซึ่งมีปริมาณอุปสงค์เท่ากับปริมาณอุปทาน

47 ค่าเสื่อมราคา หมายถึง การลดคุณค่าของทรัพย์สินตามกาลเวลา หรือตามปริมาณการผลิต แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. การเสื่อมราคาทางกายภาพ 2. การเสื่อมราคาทางการใช้งาน 3. การเสื่อมราคาจากอุบัติเหตุ


ดาวน์โหลด ppt หน่วยที่ 10 ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google