งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารจัดการ ในสถานศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารจัดการ ในสถานศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารจัดการ ในสถานศึกษา
การบริหารจัดการ ในสถานศึกษา การเงิน การบัญชี งบประมาณ พัสดุ กรกฎาคม ๒๕๕๗

2

3 คำถาม นักเรียนเข้าไปซื้อของในสหกรณ์โรงเรียนราคา ๓๐ บาท นักเรียนจ่ายเงินใบละ ๑๐๐ บาท อาจารย์ในฐานะผู้ขายไม่มีเงินทอน จึงไปแลกกับแม่ค้าของ รร.และได้ทอนให้นักเรียนไป ๗๐ บาท ต่อมาปรากฏว่า แม่ค้ามาบอกว่าธนบัตรที่นำมาแลกเป็นของปลอม อาจารย์จึงได้ให้ธนบัตรใบใหม่ ๑๐๐ บาท อยากรู้ว่าอาจารย์ขาดทุนไปเท่าไหร่จากการซื้อขายครั้งนี้? ๗๐ บาท พร้อมสินค้า

4 การทำงานการเงิน และพัสดุ
ฟอร์แมต (Format) ชีวิตทำใจเปิดรับ ดีลิท (Delete) ในสิ่งที่ผิด แอนตี้ไวรัส (Anti Virus) ต่อต้านในสิ่งที่ผิด เมมโมรี่ (Memory) เก็บข้อมูลในสิ่งที่ดี ที่ถูกต้อง

5 มติ ครม.เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
เป้าหมายเบิกจ่าย งปม. ๒๕๕๗ ภาพรวม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ของวงเงิน รายจ่ายลงทนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๒ ของวงเงิน และต้องก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภายในเดือน มีนาคม ๒๕๕๖ ให้เร่งรัดก่อหนี้รายจ่ายลงทุนให้แล้วเสร็จภายในวันที่ ๑๔ กพ. ๒๕๕๗

6 ปัญหา ๑. สพฐ. ๒. สพท. ๓. โรงเรียน

7 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. จัดสรรเป็นระยะ ๆ ๒. มาปลายปี ๓. ไม่มีรายละเอียด

8 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๑. ไม่มีบุคลากร ๒. ไม่ลง ๓. ไม่เร่ง ๔. ไม่ติดตาม

9 โรงเรียน ๑. ไม่เร่งจัดหา ๒. ไม่ส่งมา สพท. ๓. ไม่ขอเบิกจ่าย
๑. ไม่เร่งจัดหา ๒. ไม่ส่งมา สพท. ๓. ไม่ขอเบิกจ่าย ๔. ไม่ให้ความสำคัญ ๕. ไม่ทำตามขั้นตอน

10 การเร่งรัดการบริหาร งปม.ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. เร่ง จัดหา ๒. เร่ง ก่อหนี้
๓ เร่ง ๑. เร่ง จัดหา ๒. เร่ง ก่อหนี้ ๓. เร่ง เบิกจ่าย ๒ รอบ ๑. รอบ คอบ ๒. รอบ รู้

11 ปัญหา งปม.ปีที่ผ่านมา ๑. การก่อหนี้ผูกพันก่อนอนุมัติเงิน
๒. การเตรียมการจัดหาเพื่อรองรับการอนุมัติ งปม.

12 12 12

13

14 “มืออาชีพ” มีอาชีพ เป็นรอง
หมายถึงมีความชำนาญ และความสามารถ พร้อมทั้งมีความรอบรู้ในสิ่งที่เราปฏิบัติ รู้วิธีและหลักการที่ถูกต้อง มีความพร้อมและไหวพริบในการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า หากเกิดการผิดพลาด มีอาชีพ เป็นรอง

15 ข้อบกพร่องและกรณีทุจริต ทางงานคลัง
ข้อบกพร่องและกรณีทุจริต ทางงานคลัง 15

16 ปัญหาในการปฏิบัติทางด้านการเงิน
๑. ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวกับการเงินของทางราชการ - พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ - ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง - ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง - มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือกระทรวงการคลังกำหนด หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายเงินของแผ่นดิน - ระบบบัญชีของส่วนราชการที่กระทรวงการคลังกำหนดให้ถือปฏิบัติ ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและหน่วยงานย่อย

17 ปัญหาในการปฏิบัติทางด้านการเงิน/พัสดุ(ต่อ)
๒. ขาดการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ 17

18 ตัวอย่างความผิดเกี่ยวกับพัสดุ
ปัญหาในการปฏิบัติทางด้านการพัสดุ - แบ่งซื้อ/แบ่งจ้าง - ขั้นตอนการดำเนินการ ผิดระเบียบ - การตรวจรับพัสดุหรือตรวจการจ้าง เป็นเท็จ หรือ ไม่ถูกต้อง/ไม่ครบถ้วน - ไม่ยอมปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับแต่งตั้งและหรือไม่แต่งตั้ง หน.หน่วยพัสดุเพื่อตรวจสอบการรับ-จ่ายพัสดุ - ทำเอกสารหลักฐานจัดซื้อจัดจ้างเป็นเท็จ - ไม่ลงทะเบียนพัสดุ หรือ ลงไม่เป็นปัจจุบัน

19 ปัญหาในการปฏิบัติทางด้านการบัญชี
- ไม่ลงรายการ การรับ/จ่ายเงิน - ลงไม่ถูกต้อง/ลงไม่ครบถ้วน/ลงไม่เป็นปัจจุบัน - ลงรายการเป็นเท็จ และไม่มีหลักฐานประกอบ - ลงรายการและทำหลักฐานประกอบเป็นเท็จ

20 ปัญหาในการปฏิบัติทางด้านการเงิน
๑. เกี่ยวกับตัวเงิน - นำเงินสดในมือ/เก็บเงิน แล้วนำไปใช้ส่วนตัว - ถอนเงิน/โอนเงิน ในบัญชีธนาคารไปใช้ส่วนตัว - ถอนเงินโดยไม่มีหลักฐานประกอบการถอน - ลงชื่อในใบถอนเงินโดยไม่กรอกจำนวนเงิน - ปลอมลายมือชื่อในเช็ค/ใบถอนเงิน - แก้ไขเพิ่มเติมจำนวนเงินและผู้รับเงินในเช็คแล้วถอนเงินนำไปใช้ส่วนตัว

21 ปัญหาในการปฏิบัติทางด้านการเงิน (ต่อ)
๒. เกี่ยวกับเอกสาร - ทำหลักฐานเบิก/จ่ายเงิน เป็นเท็จ เช่นปลอมลายมือ ปลอมเอกสาร - ใบเสร็จ/เอกสารทางการเงินสูญหาย - หลักฐานการเบิกจ่ายเงิน ไม่ครบตามระเบียบ

22 การควบคุมภายใน ขั้นพื้นฐาน
การควบคุมภายใน ขั้นพื้นฐาน 22

23 การควบคุมภายในขั้นพื้นฐาน
๑. วิเคราะห์และระบุให้ได้ว่า ณ จุดใดในโรงเรียนของท่านเป็นจุดเสี่ยงต่อการทุจริต (Risk Area) งานการเงิน งานบัญชี งานจัดซื้อจัดจ้าง เช่น 23

24 การควบคุมภายในขั้นพื้นฐาน
๒. อย่าปล่อยให้ผู้ใดอยู่ในตำแหน่งที่เป็นจุดเสี่ยงเหล่านั้นนานเกินไป ให้มีระบบสับเปลี่ยนหมุนเวียนและสร้างตัวตายตัวแทน ๓. เจ้าหน้าที่คนใดที่จ้องดูแลแต่เรื่อง ๆ เดียวเป็นประจำ โดยกีดกันไม่ให้คนอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องเป็นเรื่องที่น่าผิดสังเกต 24

25 การควบคุมภายในขั้นพื้นฐาน
๔. เลิกงานแล้วไม่กลับบ้านสะสางงานคนเดียวเป็น ประจำ ๕. สร้างระบบตรวจสอบถ่วงดุล เช่น ตามระเบียบให้มีผู้ถือกุญแจตู้นิรภัยเก็บเงินอย่างน้อย ๒ คน คนละดอก ถ้าจะโกงก็ต้องร่วมมือกันทั้ง ๒ คน (อาจแต่งตั้ง ๓ คน) 25

26 การควบคุมภายในขั้นพื้นฐาน
๖. ต้องสังเกตการใช้ชีวิต (Lifestyle) ที่เปลี่ยนไป ถ้าคนๆหนึ่งเกิดฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย มีบ้าน มีรถยนต์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก็ต้องสืบเสาะว่าเขาเอามาจากไหน ๗. ต้องมีการติดตามผลสำเร็จของงานและเปรียบเทียบกับแผนและวิเคราะห์ความแตกต่าง 26

27 การควบคุมภายในขั้นพื้นฐาน
๘.มีการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญให้กับบุคลากรหลายคนเพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดการผิดพลาด หรือทุจริต ๙. ไม่มอบหมายให้บุคคลเดียวปฏิบัติหน้าที่สำคัญตั้งแต่ต้นจนจบ ๑๐. มีคำสั่งมอบหมายงานต้องเป็นลายลักษณ์อักษร

28 เอกสารการกู้มีความผิดปกติ
บัตรประจำตัวข้าราชการ(หน้ามืด)มองเห็นใบหน้า ไม่ชัดเจน ผู้กู้รายนายประยูร ธรรมชาติ

29 ผู้กู้มีใบหน้าซ้ำกัน
ผู้กู้รายนายมนตรี รักดี ผู้กู้รายนายสุวิช ขาวผ่อง

30 ปลอมหนังสือรับรองของผู้บังคับบัญชา
ลายมือชื่อจริง ลายมือชื่อปลอม

31 ตัวอย่างที่น่าสนใจ “ท่าน ผอ.คะ นิดกราบขอโทษทุกๆอย่างที่เกิดขึ้นนะคะ ท่าน ผอ.ดีกับนิดเสมอมา นิดทราบดี แต่ขณะนี้นิดไม่ได้อยู่ในไทยแล้ว และจำเป็นต้องไป ท่าน ผอ.คงเข้าใจนะคะ ลาก่อนค่ะ ขอให้ท่าน ผอ. โชคดีนะค่ะ” ลงชื่อ นิด ข้อความนี้ถูกส่งเข้าโทรศัพท์มือถือภายหลังเกิดเหตุปลอมแปลงใบเสร็จรับเงิน 74 ฉบับ มูลค่า 1,035, บาท

32 ความผิดทางวินัยเกี่ยวกับการพัสดุ
ระเบียบ สร.ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ ข้อ ๑๐ - จงใจ/ประมาทเลินเล่อ - เจตนาทุจริต - ทำโดยปราศจากอำนาจ/ทำนอกอำนาจหน้าที่ - - เอื้ออำนวย ให้มีการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม ในการเสนอราคา/เสนองาน

33 สถานโทษทางวินัยเกี่ยวกับการพัสดุ
.๑. เจตนาทุจริต ทำให้ราชการเสียหาย อย่างร้ายแรง โทษ อย่างต่ำ ปลดออก ๒. ทำให้ราชการเสียหาย แต่ไม่ร้ายแรง โทษ อย่างต่ำ ตัดเงินเดือน ๓. ราชการไม่เสียหาย โทษ อย่างต่ำ ภาคทัณฑ์/ว่ากล่าวตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร

34 กรณีไม่ร้ายแรง ๒. ตัดเงินเดือน ๓. ลดขั้นเงินเดือน กรณีร้ายแรง
โทษทางวินัยมี ๕ สถาน ๑. ภาคทัณฑ์ ๒. ตัดเงินเดือน ๓. ลดขั้นเงินเดือน ๔. ปลดออก ๕. ไล่ออก กรณีไม่ร้ายแรง กรณีร้ายแรง

35 Money Man กระบวนการจัดการบริหารควบคุม การบริหารคน
หลักการบริหาร Man Money Materials Management การบริหารเงินจัดสรรเงินอย่างไร การบริหารพัสดุ

36 แนวทางการใช้ระเบียบสำนักนายก/กระทรวงการคลัง
การบริหารเงินของโรงเรียน ๑. การบริหารงบประมาณ ๒. การใช้จ่ายงบประมาณ ๓. การใช้เงินนอกงบประมาณ ๔.การบริหารงานพัสดุ

37 การบริหารงานพัสดุ นายวันชัย ธงชัย

38 การบริหารพัสดุ การนำเอาวิทยาการและหรือศิลปะในการบริหารมาใช้ในการจัดการเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อสนับสนุนและสนองความต้องการในการปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือโครงการต่างๆ ให้ดำเนินไปตามเป้าหมาย นายวันชัย ธงชัย

39 การบริหารงานพัสดุการศึกษา : ระเบียบและการปฏิบัติ
นายวันชัย ธงชัย

40 กระบวนการบริหารงานพัสดุ
กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ

41 ปัญหาในการบริหารจัดการพัสดุ
๑. ปัญหานโยบายและทิศทางการบริหารพัสดุ ๒. ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างหน่วยงานบริหารงานพัสดุ ๓. ปัญหาเกี่ยวกับบุคลากรด้านพัสดุ ๔. ปัญหาเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ๕. ปัญหาเกี่ยวกับฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. ปัญหาเกี่ยวกับงบประมาณ นายวันชัย ธงชัย

42 คิดอย่างไร ข้อ ๖ ระเบียบนี้ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ซึ่งดำเนินการเกี่ยวกับการพัสดุโดยใช้ เงินงบประมาณ เงินกู้ และเงินช่วยเหลือ

43 กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

44 กฎหมายและระเบียบ ๑. พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
๑. พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๓. พรบ. ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๔. พรบ. ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อ หน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒

45 ๕. ระเบียบ คตง. ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลังพ.ศ. ๒๕๔๔
๖. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๗. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๙ ๘. หนังสือเวียนแนวทางปฏิบัติ

46 กค.๐๔๐๖.๒ /ว ๖๖ ลงวันที่ ๒๕ ก.ย. ๒๕๕๐ สัดส่วนความรับผิดทางละเมิด

47 กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง
ใช้ค่าfactor f / ราคาวัสดุไม่ถูกต้อง 70 : 15 : 10 : 5 กก.กำหนดราคากลาง : ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 70 : 20 : 10 (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ) กก.กำหนดราคากลาง : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 70 : 30 (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ - ผบ.ผู้ผ่านงาน) กก.กำหนดราคากลาง : ผู้อนุมัติ คำนวณปริมาณงานผิดพลาด 100 กก.กำหนดราคากลาง

48 ปัญหาที่พบ มิได้แยกครุภัณฑ์ที่จัดซื้อ
ราคาวัสดุก่อสร้างไม่ตามกระทรวงพาณิชย์ คิดค่าใช้จ่ายดำเนินการที่รวมใน Factor F แล้ว ซ้ำ คิด Factor F ไม่ถูกต้อง ใช้เกณฑ์คำนวณผิดประเภท ไม่แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง ถอดแบบไม่ถูกต้อง / ซ้ำซ้อน ไม่ชี้แจงความจำเป็น รายละเอียดของค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องมี

49 วิธีการจัดซื้อจัดจ้างไม่ถูกต้อง : ราคาแพง
60: 20 : 10 :10 คกก.พิจารณาผล : (ผ่าน) ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ (ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ ) 60: 20 : 20 คกก.พิจารณาผล : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ ไม่ผ่านฝ่ายพัสดุ และ ผบ.ผู้ผ่านงาน 60: 40 คกก.พิจารณาผล : : ผู้อนุมัติ

50 ไม่คัดเลือกต่ำสุดที่ถูกต้องตามเงื่อนไข
60:15:15:10 คกก.เปิดซองสอบราคา : ฝ่ายพัสดุ : ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 60:15:15:10 คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา:ฝ่ายพัสดุ:ผบ.ผู้ผ่านงาน:ผู้อนุมัติ 60 : 40 คกก.พิจารณาผลการประกวดราคา : ผู้อนุมัติ กรณีที่ จนท.ฝ่ายพัสดุ ผู้ผ่านงานทักท้วงแล้ว แต่ผู้บังคับบัญชา ใช้อำนาจสั่งอนุมัติ จนท.ฝ่ายพัสดุ ผู้ผ่านงานไม่ต้องรับผิด

51 ขั้นตอนการพิจารณาคัดเลือกผู้เสนอราคา
ตรวจสอบความถูกต้อง คุณสมบัติผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่าง ๆ ตัวอย่าง แบบรูปรายการละเอียด คัดเลือก พัสดุ / งานจ้าง คุณภาพ / คุณสมบัติประโยชน์ต่อทางราชการ เสนอราคา - ต่ำสุด

52 การตรวจการจ้างไม่เป็นไปตามรูปแบบรายการ
ผู้บังคับบัญชาควรรู้ 30 : 50 : 10 : 10 คกก.ตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน : ผบ.ผู้ผ่านงาน :ผู้อนุมัติ ผู้บังคับบัญชาไม่รู้ 40 : 60 กก.ตรวจการจ้าง : ผู้ควบคุมงาน

53 การตรวจรับพัสดุไม่ถูกต้อง
60 : 20 : 10 : 10 คกก.ตรวจรับพัสดุ : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ (กรณี จนท.ฝ่ายพัสดุ / ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าการส่งของ ไม่ตรงตามสัญญา ไม่ต้องรับผิด)

54 ไม่เรียกค่าปรับ 70 : 10 : 10 : 10 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง
คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง : ฝ่ายพัสดุ: ผบ.ผู้ผ่านงาน : ผู้อนุมัติ 100 คกก.ตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง (กรณี จนท.ฝ่ายพัสดุ / ผู้บังคับบัญชาไม่ทราบข้อเท็จจริง ว่าการส่งมอบงาน / ของ ล่าช้า ไม่ต้องรับผิด)

55 การบริหารเงินโรงเรียน

56 การเงินในโรงเรียน เงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ

57 หลักเกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณงบเงินอุดหนุน
การเงิน -พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ -ระเบียบบริหาร งปม. พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไข -ระเบียบ/ประกาศ เกี่ยวกับเงินรายได้ สถานศึกษา -คำสั่งมอบอำนาจ เงินงบประมาณ เงินรายได้สถานศึกษา -ระเบียบ ศธ.ว่าด้วยการรับเงิน หรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้แก่สถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ เงินบริจาค เงินอุดหนุน หลักเกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณงบเงินอุดหนุน

58 บริจาค งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบประมาณ งบลงทุน งบเงินอุดหนุน
การจัดซื้อ/จ้าง งบประมาณ งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น เงินรายได้

59 ทรัพย์สิน การบริจาค เงินสด

60 ว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้แก่สถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒
ระเบียบ ศธ. ว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้แก่สถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันประกาศ

61 การรับบริจาค ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้แก่สถานศึกษา

62 เงื่อนไขกำหนด ผลดี ผลเสีย และประโยชน์ที่จะได้รับ บริจาคด้วยความสมัครใจ
ไม่เป็นการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ หรือมีเงื่อนไขผูกพันที่จะให้ประโยชน์ต่อผู้ใดโดยเฉพาะ

63 การรับเงินบริจาค เงินสด เช็คธนาคาร ตั๋วแลกเงิน ธนาณัติ
รับเงินสดผ่านธนาคาร ออกใบเสร็จรับเงิน โดยระบุชื่อผู้บริจาค จำนวนเงิน วัตถุประสงค์ของการบริจาค

64 การรับบริจาคอาคาร ที่ดิน
แต่งตั้งคณะกรรมการไม่เกิน ๕ คนทำหน้าที่ - ตรวจสอบกรรมสิทธิ์ที่ดิน หรือสิทธิครอบครองของผู้บริจาค รวมทั้งภาระติดพันในที่ดิน - ประเมินมูลค่าของอาคาร ที่ดิน โดยเทียบกับราคาของกรมที่ดิน

65 การรับบริจาคอาคาร ที่ดิน (ต่อ)
๑. ออกหนังสือรับรองโดยประทับตราโรงเรียนและ ลงลายมือชื่อ ผอ.รร.เป็นหลักฐานการรับบริจาค เพื่อนำไปยกเว้นภาษีเงินได้ ๒. ออกหนังสือตอบขอบคุณ หรือเครื่องหมายตอบแทน

66 การรับบริจาคสังหาริมทรัพย์
แต่งตั้งคณะกรรมการไมเกิน ๕ คน กรณีรับบริจาคเกิน ๑ แสนบาทขึ้นไป ทำหน้าที่ - ตรวจสอบกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง รวมทั้ง ภาระติดพันในทรัพย์สิน - ประเมินราคาทรัพย์สิน - ออกหนังสือรับรองโดยประทับตราโรงเรียน ลงลายมือชื่อ ผอ.รร.เป็นหลักฐานการรับบริจาค เพื่อนำไปยกเว้นภาษี เงินได้ -ออกหนังสือตอบขอบคุณ หรือเครื่องหมายตอบแทน

67 การออกหนังสือตอบขอบคุณ
ผอ.รร. / ผอ.สพท. ไม่ถึง ๕ ล้านบาท เลขาธิการ กพฐ. ตั้งแต่ ๕ ล้านบาท แต่ไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท รัฐมนตรี ศธ. ตั้งแต่ ๑๐ ล้านบาทขึ้นไป

68 มูลค่าทรัพย์สินที่บริจาค
เครื่องหมายตอบแทน มูลค่าทรัพย์สินที่บริจาค บุคคลธรรมดา บริษัท ห้าง ร้าน ๒๕,๐๐๐ แต่ไม่ถึง ๕๐,๐๐๐ บาท เข็มทองแดง โล่ทองแดง ๕๐,๐๐๐ แต่ไม่ถึง ๒๕๐,๐๐๐ บาท เข็มเงิน โล่เงิน ๒๕๐,๐๐๐ แต่ไม่ถึง ๕๐๐,๐๐๐ บาท เข็มนาก โล่นาก ๕๐๐,๐๐๐ แต่ไม่ถึง ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท เข็มทอง โล่ทอง

69 การใช้จ่ายเงินบริจาค
ใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ที่ผู้บริจาคระบุไว้ การจัดซื้อจัดจ้าง ปฏิบัติตามระเบียบพัสดุฯ หลักฐานการจ่าย โรงเรียนเก็บรักษาไว้เพื่อการตรวจสอบ

70 ระเบียบ ประกาศ เงินรายได้สถานศึกษา

71 พ. ร. บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ. ศ
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๓๕ กำหนดให้โรงเรียนมีฐานะเป็นนิติบุคคลได้แก่ โรงเรียนที่สังกัด สพท. มีฐานะเป็นนิติบุคคล 71 71

72 โรงเรียนที่เป็นนิติบุคคล
ส่วนที่เกี่ยวข้องเงินรายได้สถานศึกษา - หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/๒๑๘๖ ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ ระเบียบ สพฐ. ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับ เงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙

73 สั่ง ณ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกาศ สพฐ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการนำเงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑

74 คำสั่งมอบอำนาจ สพฐ. ที่ ๑๕๐๕/๒๕๕๑
สั่ง ณ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ การเก็บรักษาตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๑๔/๐๗๕๐๙ ลงวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๙

75 ระเบียบ สพฐ.ว่าด้วยการบริหาร จัดการเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษา ขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลในสังกัด เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๙

76

77 บกศ. (เดิม) ผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุ
เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา เงินรายได้สถานศึกษา เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซื้อ/จ้างด้วยเงินงบประมาณ เงินที่มีผู้มอบให้ งบประมาณ เงินอื่น ๆ ที่สถานศึกษารับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ถือเป็นเงินรายได้สถานศึกษา

78 ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง
การรับเงิน ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้ง เฉพาะสถานศึกษานั้น การใช้จ่ายเงิน เกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาแห่งนั้น เงินที่มีผู้มอบให้โดยมีวัตถุประสงค์ให้จ่ายตามวัตถุประสงค์นั้น

79 อำนาจจ่าย/ก่อหนี้ สพฐ. กำหนด (๑๕๐๕/๒๕๕๑) การจัดซื้อ/จัดจ้าง ตามระเบียบพัสดุฯ

80 ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการนำเงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑

81 ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษา
ปฏิบัติงาน ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษา คก.สถานศึกษา แผน การใช้จ่ายเงิน การใช้จ่ายเงิน รด. คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้ ประโยชน์ต่อผู้เรียน

82 ระบุวัตถุประสงค์ไว้ชัดแจ้ง
เงินที่ผู้มอบให้สถานศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์ ระบุวัตถุประสงค์ไว้ชัดแจ้ง ให้นำไปใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะในกิจการ ที่ผู้มอบระบุวัตถุประสงค์ในการใช้ไว้เท่านั้น

83 การใช้จ่ายเงิน รด.ของสถานศึกษา
ยกเว้นไปต่างประเทศ ค่าจ้างชั่วคราว สมทบรายการค่าครุภัณฑ์ หรือรายการค่าที่ดินสิ่งก่อสร้าง งบบุคลากร งบดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน รด.ของสถานศึกษา งบลงทุน งบเงินอุดหนุน ช่วยเหลือ นร.ยากจน ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ ต่ำกว่า ๑๐ ล้าน ต่อหน่วยต่ำกว่า๒ ล้าน

84 รายจ่ายค่าจ้างชั่วคราว
จ้างครูผู้สอน พนักงานที่ปฏิบัติงานในลักษณะอำนวยการ - คัดเลือกด้วยความโปร่งใส - คำนึงถึงกรอบอัตรากำลัง - วุฒิการศึกษา - อัตราค่าจ้าง - เงื่อนไขการจ้างให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติการจ้างลูกจ้างชั่วคราวด้วยเงินนอกงบประมาณตามที่ สพฐ. กำหนด

85 การให้ยืมเงิน บริหารจัดการเพื่อพัฒนา ทดรองจ่าย
สภาพแวดล้อม/พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ทดรองจ่าย การให้ยืมเงิน ทดรองจ่ายเกี่ยวกับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล การศึกษาของบุตร สำหรับครู บุคลากรทางการศึกษา และลูกจ้างของสถานศึกษา เฉพาะในส่วนที่สามารถเบิกจากเงิน งปม.มาชดใช้เงินรายได้สถานศึกษาได้ จัดหารายได้ของสถานศึกษา

86 การรับ-จ่ายเงินรายได้สถานศึกษา
สถานศึกษาต้องรายงานการรับ-จ่ายเงินรายได้สถานศึกษาตามแบบที่กำหนดให้ สพฐ. และ สพท. ทราบภายใน ๓๐ วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

87 การมอบอำนาจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษา
การอนุมัติจ่ายเงินยืม การอนุมัติจ่ายเงิน การมอบอำนาจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษา ๑๕๐๕/๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ การสั่งซื้อสั่งจ้าง การก่อหนี้ผูกพัน การดำเนินการทั้งปวงตามระเบียบพัสดุ ฯ ทุกกรณี

88 การมอบอำนาจเงินรายได้สถานศึกษา
ผอ.สถานศึกษา/ผอ.ศูนย์การศึกษาพิเศษ ๑๕ล้าน ผอ.สคส. สพฐ. ๒๐ล้าน รอง. สพฐ. ๔๐ล้าน การมอบอำนาจเงินรายได้สถานศึกษา ๑๕๐๕/๒๕๕๑ สั่ง ณ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ผอ.สพท ๒๐ล้าน ที่ปรึกษาฯสพฐ. ๓๐ล้าน ผวจ. ๒๕ล้าน

89 ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๑๔/๐๗๕๐๙
การเก็บรักษาเงิน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๑๔/๐๗๕๐๙ ลงวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๙ ๑. วงเงินสำรองจ่าย ณ ที่ทำการไม่เกินวันละ - ร.ร.ขนาดเล็กที่มีนักเรียนไม่เกิน ๑๒๐ คน ๒๐,๐๐๐ บาท - ร.ร.ที่มีนักเรียนเกิน ๑๒๐ คน ๓๐,๐๐๐ บาท - สพท. ๑๐๐,๐๐๐ บาท กรณีสถานศึกษาที่จัดอาหารกลางวัน (ที่ไม่ได้เบิกจาก งปม.) ให้กับนักเรียนมีเงินสำรองไว้ ณ ที่ทำการเพิ่ม วันละไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท ส่วนที่เหลือนำฝาก สพท.

90 ร.ร.ขนาดเล็กที่มีนักเรียนไม่เกิน ๑๒๐คน ๓๐,๐๐๐ บาท
๒. เก็บโดยนำฝากธนาคาร ยึดจำนวนนักเรียนเป็นตัวกำหนดวงเงินฝากธนาคาร จำนวนนักเรียน วงเงินฝากธนาคาร ร.ร.ขนาดเล็กที่มีนักเรียนไม่เกิน ๑๒๐คน ๓๐,๐๐๐ บาท ร.ร.ที่มีนักเรียนเกิน ๑๒๐ คน ไม่เกิน ๑ ล้านบาท สพท. ไม่เกิน ๕ ล้านบาท ส่วนที่เกินให้นำฝาก สพท. (สพท.นำฝากกรมบัญชีกลาง/คลังจังหวัด/คลังจังหวัด ณ อำเภอแล้วแต่กรณี) ดอกผลที่เกิดจากเงินฝากธนาคารถือเป็นผลประโยชน์ที่สถานศึกษาสามารถเก็บเป็นกรรมสิทธิ์ได้ โดยไม่ต้องส่งคลัง ตาม พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา ๕๙ วรรคสาม

91 เงินรายได้สถานศึกษา (หนังสือ สพฐ
เงินรายได้สถานศึกษา (หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/๒๔๙ ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑) เห็นชอบให้เงินที่โรงเรียนได้รับดังต่อไปนี้ถือเป็นเงินรายได้สถานศึกษา ๑. ค่าขายแบบรูปรายการ ๒. เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหาย หรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา

92 ๓. เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งเงินโครงการอาหารกลางวัน
๔. ค่าขายทรัพย์สินของโรงเรียนที่ได้มาจากเงินงบประมาณ ๕. เงินหลักประกันสัญญาที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างไม่รับคืน เมื่อพ้นกำหนดภาระผูกพันตามสัญญา

93 เงินรายได้สถานศึกษา (หนังสือ สพฐ
เงินรายได้สถานศึกษา (หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/๑๕๐๙ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑) เรื่องซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษา ๑. เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหายหรือหรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สินและจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา เป็นเงินที่ได้รับชดใช้ค่าเสียหายเพื่อให้จัดหาทรัพย์สินเดิมคืนมา ดังนั้นโรงเรียนต้องใช้เงินให้ตรงตามวัตถุประสงค์ไม่ถือว่าเป็นเงินรายได้ของโรงเรียน และให้ปฏิบัติตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๓/ว ๕๐๓ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ เรื่อง การอนุญาตให้ส่วนราชการเก็บเงินไว้ใช้จ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สิน

94 ๒. เงินค่าขายทรัพย์สินของโรงเรียนที่ได้มาจากเงิน งบประมาณการจำหน่ายอาคารเรียนและสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของกรมธนารักษ์ ค่าขายให้เป็นเงินรายได้ของกรมธนารักษ์ ๓. เงินหลักประกันสัญญาที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างไม่รับคืนเมื่อพ้นกำหนดภาระผูกพันตามสัญญาก่อนนำไปใช้ให้โรงเรียนขอทำความตกลงกับ กระทรวงการคลังก่อน

95 เงินรายได้สถานศึกษา หนังสือ สพฐ
เงินรายได้สถานศึกษา หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/๒๕๑๑ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ๑. เงินที่ได้รับจากการขายแบบที่จัดทำขึ้นด้วยเงิน งปม.แผ่นดิน หรือรับจาก สพฐ. ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ๒. เงินที่ได้รับจากการขายแบบที่จัดทำขึ้นด้วยเงิน รายได้สถานศึกษาถือเป็นรายได้ของสถานศึกษาที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน

96 ใครเป็นนิติบุคคล ๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. โรงเรียน
๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. โรงเรียน ๓. กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ภายในโรงเรียน

97 ใครเป็นหน.ส่วนราชการ ๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. โรงเรียน ๓. กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ภายในโรงเรียน

98 ใครเป็นผู้รับมอบอำนาจงานด้านการพัสดุจาก สพฐ.
๑. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๒. โรงเรียน ๓. กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ภายในโรงเรียน

99 สิ่งแรกที่ต้องสำรวจ ได้ทำการวางแผนการจัดหาพัสดุแล้วหรือไม่
ระเบียบ สนร.ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๑๓ กำหนดให้ “หลังจากได้ทราบยอดเงินที่จะนำมาใช้ในการจัดหาแล้วให้ส่วนราชการรับดำเนินการให้เป็นไปตามแผน และตามขั้นตอนของระเบียบนี้ ในส่วนที่ ๒ ส่วนที่ ๓ หรือส่วนที่ ๔ แล้วแต่กรณี เพื่อให้พร้อมที่จะทำสัญญาได้ทันที เมื่อได้รับอนุมัติทางการเงินแล้ว การจัดหาโดยวิธีสอบราคาและวิธีประกวดราคา ให้ส่วนราชการวางแผนในการจัดหาและดำเนินการให้เป็นไปตามแผนด้วย”

100 ประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. ๒๕๔๖
ข้อ ๔ ให้หน่วยรับตรวจ (ส่วนราชการประจำจังหวัดและส่วนราชการซึ่งมี สนง.ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค) ที่มีการจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงิน งปม. เงินนอก งปม. เงินรายได้ เงินกู้ หรือเงินอุดหนุน จัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (๒) หน่วยรับตรวจ สำหรับครุภัณฑ์ที่มีราคาเกิน ๑ แสนบาท และที่ดินสิ่งก่อสร้างที่มีราคาเกิน ๑ ล้านบาท

101 ข้อ ๕ ให้ผู้รับตรวจเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ โดยจัดทำให้แล้วเสร็จภายในวันที่ ๑๕ ตุลาคม ของทุกปี และส่งสำเนาให้ สนง.การตรวจเงินแผ่นดินหรือ สตงแผ่นดินภูมิภาคแล้วแต่กรณี จำนวน ๑ ชุด อย่างช้าภายในวันที่ ๓๑ ตค.ของทุกปี ในกรณีที่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรือตัดทอนรายละเอียด หรือระยะเวลาในแผน ให้ผู้รับตรวจจัดส่งสำเนาแก่ สตง. หรือ สตง.ภูมิภาค แล้วแต่กรณี จำนวน ๑ ชุด ภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่อนุมัติให้แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมหรือตัดทอนดังกล่าว

102 หลักการจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
๑. สอดคล้องกับนโยบายและแผนของหน่วยเหนือ ๒. วัตถุประสงค์และ ความจำเป็นในการจัดหาพัสดุ เช่น ของเดิมชำรุด ต้องซื้อทดแทน ๓. วงเงินจัดหา วงเงินตามแผนการใช้จ่ายเงิน ๔. ประเภทของพัสดุและรายละเอียดของพัสดุหรืองานที่จะจ้าง ๕. ความพร้อมของกลุ่มสาระ เช่น เทคนิคในการใช้งาน กับ ครูในกลุ่มสาระ ๖. กำหนดเวลา ใช้งาน

103 หลักการบริหาร Money Material คน Man เงิน เครื่องมือ พัสดุ
วัสดุ ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง นายวันชัย ธงชัย

104 ทิศทางการพัสดุ กฎระเบียบ IT บุคลากร นายวันชัย ธงชัย

105 สมรรถนะบุคลากรด้านการเงินพัสดุ
ความรู้ความสามารถด้านกฎระเบียบ ความสามารถบริหารงบประมาณ/การจัดซื้อจัดจ้าง ความรู้ความสามารถด้าน IT ความสามารถในการให้บริการที่ดี (service mind) นายวันชัย ธงชัย

106 มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม
หลักการบริหารพัสดุ โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม นายวันชัย ธงชัย

107 ระเบียบ ระเบียบฯว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบฯว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙ นายวันชัย ธงชัย

108 พัสดุ วัสดุ ครุภัณฑ์ (จำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ) ที่ดินและ
สิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ พัสดุ ระเบียบกรุงเทพมหานคร ว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ รายจ่าย และการปฏิบัติเกี่ยวกับงบประมาณ พัสดุ คืออะไร (จำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ)

109 หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
๑. งบบุคลากร ๕. งบรายจ่ายอื่น ๓. งบลงทุน ๒. งบดำเนินงาน ๔. งบเงินอุดหนุน

110 หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
๑. เงินเดือน ๕. งบรายจ่ายอื่น ๑. งบบุคลากร ๓. งบลงทุน ๒. ค่าจ้างประจำ ๓. ค่าจ้างชั่วคราว ๒. งบดำเนินงาน ๔. งบเงินอุดหนุน ๔. ค่าตอบแทนพนักงาน

111 หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
๑. ค่าตอบแทน ๕. งบรายจ่ายอื่น ๑. งบบุคลากร ๓. งบลงทุน ๒. ค่าใช้สอย ๓. ค่าวัสดุ ๒. งบดำเนินงาน ๔. งบเงินอุดหนุน ๔. ค่าสาธารณูปโภค

112 ค่าตอบแทน เงินที่จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด เช่น ค่าจ้างนอกเวลา ค่าอาหารทำการนอกเวลา ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้างที่มีคำสั่งแต่งตั้งจากทางราชการ ค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา

113 ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๔ สถานศึกษา หมายความว่า โรงเรียน วิทยาลัย หรือสถานศึกษาของรัฐที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่จัดหลักสูตรการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ผู้ทำการสอน หมายความว่า บุคคลที่ทำหน้าที่สอนในสถานศึกษา หรือในสถาบันอุดมศึกษา โดยได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างจากเงินงบประมาณ งบบุคลากร

114 ข้อ ๖ การสอนหนึ่งชั่วโมงต้องมีเวลาไม่น้อยกว่าห้าสิบนาที
ข้อ ๗ วรรคสอง อัตราค่าสอนพิเศษและสอนเกินภาระงานสอนให้เป็นไปตามบัญชีหมายเลข ๑ บัญชีหมายเลข ๑ อัตราเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษา ๑. การสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า อัตราชั่วโมงละ ๒๐๐ บาท

115 การสอนในสถานศึกษาที่ผู้ทำการสอนมีสิทธิได้รับเงินค่าสอนเกินภาระงานสอนสำหรับหน่วยชั่วโมงที่สอนนอกเหนือจากจำนวนหน่วยชั่วโมงที่ต้องทำการสอนในหนึ่งสัปดาห์ ๑. ผู้มีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสถานศึกษาที่ตนสังกัด (๑) ครู (๒) ครูผู้ช่วย จำนวนหน่วยชั่วโมงที่ต้องทำการสอนในหนึ่งสัปดาห์ ๒๐ หน่วยชั่วโมง

116 ๒. ผู้บริหารสถานศึกษาสอนระดับ ม. ต้น หรือ ม
๒. ผู้บริหารสถานศึกษาสอนระดับ ม.ต้น หรือ ม.ปลาย หรือเทียบเท่าในสถานศึกษาที่ตนสังกัด (๑) ผู้อำนวยการสถานศึกษา (๒) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวนหน่วยชั่วโมงที่ต้องทำการสอนในหนึ่งสัปดาห์ ๑๒ หน่วยชั่วโมง

117 (๓) ผู้มีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานสถานศึกษาและได้รับแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ธุรการสอนระดับ ม.ต้น หรือ ม.ปลาย หรือเทียบเท่าในสถานศึกษาที่ตนสังกัด จำนวนหน่วยชั่วโมงที่ต้องทำการสอนในหนึ่งสัปดาห์ ๑๐ หน่วยชั่วโมง ข้อ ๑๑ ผู้มีสิทธิได้รับเงินค่าสอนพิเศษในสถานศึกษาได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ (๑) ผู้สอนที่เป็นข้าราชการหรือลูกจ้างของทางราชการที่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งประจำในสถานศึกษานั้น

118 (๒) ข้าราชการและลูกจ้างของสถานศึกษาซึ่งไม่มีหน้าที่ในการสอน แต่ได้รับคำสั่งให้สอนในสถานศึกษานั้น
(๓) ผู้ได้รับเชิญไปสอนในสถานศึกษาในฐานะครูพิเศษ หรืออาจารย์พิเศษ

119 ค่าใช้สอย ค่าปักเสาพาดสายภายนอกสถานที่ราชการรวมถึงค่าติดตั้งหม้อแปลง เครื่องวัด และอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการไฟฟ้า ค่าจ้างเหมาเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบไฟฟ้า การเพิ่มกำลังไฟฟ้า การขยายเขตไฟฟ้า ค่าวางท่อประปาภายนอกสถานที่ราชการเพื่อให้ราชการได้ใช้บริการประปา รวมถึงค่าติดตั้งมาตรวัดน้ำและอุปกรณ์ประปา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการประปา ค่าจ้างเหมาเดินท่อประปาและติดตั้งอุปกรณ์ประปาเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบประปา

120 ค่าติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐาน
ค่าเช่าทรัพย์สิน รวมถึงเงินที่ต้องจ่ายพร้อมกับการเช่าทรัพย์สิน เช่น ค่าเช่ารถยนต์ อาคารสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน ยกเว้นค่าเช่าบ้านและเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าเบี้ยประกัน ค่าจ้างเหมาบริการเพื่อให้ผู้รับจ้างทำการอย่างหนึ่งอย่างใดซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง แต่มิใช่เป็นการประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน เพื่อให้ใช้งานได้ตามปกติ

121 ๑. ค่าใช้จ่ายในพิธีทางศาสนา
รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรอง พิธีการและเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ เช่น ๑. ค่าใช้จ่ายในพิธีทางศาสนา ๒. ค่ารับรองประเภทเครื่องดื่ม ๓. ค่าของขวัญ ของรางวัล หรือเงินรางวัล ๔. ค่าพวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้หรือพวงมาลา ๕. เงินประกันสังคม (ในฐานะนายจ้าง)

122 ค่าใช้สอยดังต่อไปนี้ ห้ามเบิกจ่าย
ค่าจัดทำสมุดบันทึก สมุดฉีก หรือของชำร่วย เนื่องในโอกาสต่าง ๆ ค่าจัดพิมพ์ ค่าจัดส่ง ค่าฝากส่งเป็นรายเดือน สำหรับบัตรอวยพรในเทศกาลต่าง ๆ และค่าจัดพิมพ์นามบัตรให้กับบุคคลภายในส่วนราชการ ค่าพวงมาลัย ดอกไม้ ของขวัญ หรือของเยี่ยมผู้ป่วย เพื่อมอบให้กับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานเอกชน บุคคล เนื่องในโอกาสต่าง ๆ ค่าทิป เงินหรือสิ่งของบริจาค ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ หรือการจัดกิจกรรมนันทนาการภายในส่วนราชการ

123 ค่าวัสดุ รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพเมื่อใช้แล้ว ย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิม และให้หมายความรวมถึงรายจ่าย รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท

124 ค่าวัสดุ (ต่อ) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ที่มีวงเงินไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ รายจ่ายดังกล่าวให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่นค่าขนส่งค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง

125 ซื้อโทรทัศน์ ๒๑ นิ้ว ๑ เครื่อง ราคา ๔,๕๐๐ บาท
ใช้เงิน เป็น?

126 แท็บเล็ต (Tablet) นักเรียน และครู ป. ๑ และ ม. ๑

127 มอก. โต๊ะเรียน ๑๔๙๔-๒๕๔๑ เก้าอี้เรียน ๑๔๙๕-๒๕๔๑
โต๊ะเก้าอี้นักเรียน ใช้เงิน เป็น? มอก. โต๊ะเรียน ๑๔๙๔-๒๕๔๑ เก้าอี้เรียน ๑๔๙๕-๒๕๔๑

128 ซื้ออุปกรณ์เพื่อมาประกอบเป็น คอมพิวเตอร์
ใช้เงิน เป็น?

129 จ้างซ่อมรถยนต์โดยเปลี่ยนคอมฯแอร์ ๑๒,๐๐๐ บาท
ใช้เงิน

130 ซื้อวัสดุ (อิฐ หิน ปูน ทรายฯ) เพื่อมาทำการก่อสร้างถนน
๗๐,๐๐๐ บาท ใช้เงิน

131 ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภคสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าน้ำบาดาล ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข เช่น ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านธนาคาร ค่าบริการสื่อสารและ โทรคมคม เช่น ค่าระบบอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตการ์ด ค่าเคเบิ้ลทีวี

132 หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
๑. ค่าครุภัณฑ์ หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย ๕. งบรายจ่ายอื่น ๑. งบบุคลากร ๒. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ๓. งบลงทุน ๔. งบเงินอุดหนุน ๒. งบดำเนินงาน

133 ค่าครุภัณฑ์ รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า ๕,๐๐๐ บาท ๑. รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ที่มีวงเงินเกินกว่า ๕,๐๐๐ บาท ๒. รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า ๒๐,๐๐๐ บาท

134 ๓. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะเป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง ๔. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์

135 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ๑. รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดิน ๒. รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดินให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงินเกินกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท ๓. รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงสิ่งก่อสร้างให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงินเกินกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท

136 ๕. รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชนหรือนิติบุคคล
๔. ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคารหรือสถานที่ราชการ ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมการก่อสร้างอาคารหรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร ๕. รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชนหรือนิติบุคคล ๖. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ๗. รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น

137 สรุป คงทนถาวร + เกิน ๕,๐๐๐ บาท ๕,๐๐๐ บาท สิ้นเปลือง แปรสภาพ
ครุภัณฑ์ คงทนถาวร + เกิน ๕,๐๐๐ บาท ๕,๐๐๐ บาท สิ้นเปลือง แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม หมดไป คงทนถาวร + ไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท วัสดุ

138 สรุป ครุภัณฑ์ คงทนถาวร + เกิน ๕,๐๐๐ บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ
ไม่คงสภาพเดิม ๕,๐๐๐ บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร + ไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท วัสดุ

139 ปรับปรุงครุภัณฑ์/คอมพิวเตอร์
งบลงทุน ๕,๐๐๐ บาท งบดำเนินงาน

140 ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง
งบลงทุน ๕๐,๐๐๐ บาท งบดำเนินงาน

141 งบดำเนินงาน บาท ซ่อมแซม บาท งบดำเนินงาน

142 สงป. ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จ่าย งปม
สงป.ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จ่าย งปม.รายจ่ายสำหรับรายการค่าวัสดุ ค่าครุภัณฑ์ และค่าสิ่งก่อสร้างตามหลักจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ๑. ผลการจัดซื้อจัดจ้าง มีผลทำให้งบรายจ่ายเปลี่ยนแปลงไปจากงบรายจ่ายที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณไว้เดิม ให้โอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายให้ถูกต้องตามงบรายจ่ายตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่ายตาม งปม.ก่อนลงนามในสัญญา ครุภัณฑ์ ๔,๙๐๐ บาท ครุภัณฑ์ ๕,๔๐๐ บาท งบลงทุน ครุภัณฑ์ ๔,๙๐๐ บาท จัดหา งบดำเนินงาน ครุภัณฑ์ ๕,๔๐๐ บาท งบดำเนินงาน จัดหา งบลงทุน

143 (๑) จัดทำสิ่งของ วัสดุ + แรงงาน =
๒. งบรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะเป็นงานจ้างเหมาสำหรับรายการค่าวัสดุ ค่าครุภัณฑ์หรือค่าสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ ๔,๓๐๐ บาท (๑) จัดทำสิ่งของ วัสดุ + แรงงาน = งบดำเนินงาน ค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ ๕,๔๐๐ บาท งบลงทุนค่าครุภัณฑ์ บาท งบลงทุนค่าสิ่งก่อสร้าง

144 (๒) สพท./รร.ซื้อวัสดุ + จ้างแรงงาน =
ค่าครุภัณฑ์ ค่าสิ่งก่อสร้าง งบลงทุน (๒) สพท./รร.ซื้อวัสดุ + จ้างแรงงาน = งบดำเนินงาน ค่าวัสดุ ค่าใช้สอย

145 ปัญหา สพท.จะดำเนินการติดตั้งแก๊สรถยนต์ และเปลี่ยนเบาะที่นั่ง ปรับปรุงพื้นรถยนต์ และผ้าม่านบังแดด วงเงิน รวม ๗๑,๒๐๐ บาท เบิกจ่ายจากเงิน ?

146 การใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัว
งบบุคลากร เช่น จ้างครูอัตราจ้างรายเดือน, พนักงานขับรถฯลฯ งบดำเนินงาน ค่าตอบแทน, ใช้สอย, วัสดุและค่าสาธารณูปโภค งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์, ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

147 การใช้ ๓. ค่าอาหารกลางวัน ซื้อวัตถุดิบมาประกอบ จ้าง
๑. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน จัดซื้อแจกจ่าย หรือให้ยืมใช้ ๒. ค่าเสื้อผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน ซื้อ/ จ้างผลิตแจกจ่ายให้แก่นักเรียน ๓. ค่าอาหารกลางวัน ซื้อวัตถุดิบมาประกอบ จ้าง เหมาทำอาหาร หรือจ่ายเป็นเงินสดให้แก่ นักเรียนโดยตรง

148 การใช้ (ต่อ) ๔. ค่าพาหนะในการเดินทาง จ่ายเป็นเงินสด จ้างเหมารถรับส่ง จัดซื้อจัดจ้างปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ จ่ายเป็นเงินสด ให้แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ คน ร่วมกันจ่ายเงิน โดยใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐาน

149 หลักการจัดหาพัสดุตาม พรฎ.ว่าด้วยวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
ความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน (Value for Money) ความโปร่งใส (Transparency) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) ความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จของงาน (Accountability)

150 หลักการจัดหาพัสดุ ตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
เปิดเผย โปร่งใส เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม คำนึงถึงคุณสมบัติและความสามารถของผู้เสนอราคาหรือผู้เสนองาน เว้นแต่กรณีที่มีลักษณะเป็นการเฉพาะอันเป็น การยกเว้นที่กำหนดไว้ในระเบียบ

151 หลักการจัดหาพัสดุ ปฏิบัติตามขั้นตอนของระเบียบจนได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจแล้วจึงไปทำสัญญาหรือข้อตกลง ต้องมีการบันทึกหลักฐานในการดำเนินการ พร้อมทั้งเหตุผลในการพิจารณาสั่งการในขั้นตอนที่สำคัญไว้เพื่อประกอบการพิจารณา

152 หลักการจัดหาที่ดี คุณภาพดี มีจำนวนถูกต้อง สอดคล้องเวลา จัดหาถูกแหล่ง ส่งถูกตำแหน่งสถานที่ มีราคาเหมาะสม

153 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับพัสดุ
๑. ประโยชน์ที่จะได้รับจากพัสดุที่จัดหา ๒. ความยุ่งยากเกี่ยวกับเทคนิคในการใช้พัสดุ ๓. งบประมาณ ๔. อายุการใช้งาน ๕. ระยะเวลาในการซื้อและการจ้าง ๖. การบำรุงรักษาและซ่อมแซมพัสดุ

154 แนวทางในการจัดซื้อ การจัดซื้อให้ได้ดีที่สุด (Best Buy) To buy materials of the right quality, in the right quantity, at the right time, at the right price, from the right source, with delivery at the right place.

155 ๑. ค่าใช้จ่ายในการจัดหา (Cost to Buy)
ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการจัดซื้อ ๑. ค่าใช้จ่ายในการจัดหา (Cost to Buy) ๒. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (Cost to Hold) ๓. ค่าใช้จ่ายเนื่องจากพัสดุขาดแคลน

156 การนำกลับมาใช้ใหม่ ( Reuse, Recycle)
วิธีการจะได้มา การจัดซื้อ/จัดจ้าง (Procurement) การเช่า (Renting) การยืม (Borrowing) การนำกลับมาใช้ใหม่ ( Reuse, Recycle) การแลกเปลี่ยน (Barter or Exchange) การบริจาค (Favorableness) อื่นๆ (Others)

157 รักษาความสัมพันธ์กับผู้ค้า ในเชิงธุรกิจด้วยความเสมอภาค
การเสนอราคา และเจรจาต่อรองอย่างเป็นธรรม ปฏิบัติงานโดยยึดถือระเบียบ ข้อกำหนด วิธีปฏิบัติ และคำสั่ง อย่างเคร่งครัด สนับสนุนให้มีการจัดหาพัสดุและบริการจากผู้ประกอบการที่ เป็นคนไทย ผู้บริหารต้องมีการควบคุม ตรวจสอบ ดูแลให้มีการ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด

158 การเตรียมการจัดหาพัสดุ
 ด้านการเงิน ตรวจสอบวงเงินจัดซื้อ จัดจ้างให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ รายการงบประมาณ - กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ อนุญาตให้จ่ายได้

159  ด้านพัสดุ  ประเภทพัสดุ - วางแผนการจัดหา
 ด้านพัสดุ - วางแผนการจัดหา - พิจารณาประเภทพัสดุที่ต้องการจัดหา - กำหนดรูปแบบรายการ รายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุที่จะ จัดหา หรือขอบเขตรายละเอียดการดำเนินงาน  ประเภทพัสดุ - วัสดุ - ครุภัณฑ์ - ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง

160 เป้าหมายในการจัดซื้อ ๖ R
๑. คุณภาพที่ถูกต้อง (Right Quality) ๒. ปริมาณที่ถูกต้อง (Right Quantity) ๓. ณ เวลาที่ถูกต้อง (Right Time) ๔. จากแหล่งขายที่ถูกต้อง (Right Source) ๕. ในราคาที่ถูกต้อง (Right Pricey) ๖. กฎระเบียบที่ถูกต้อง (Right Regulation)

161 ระเบียบปัจจุบัน ๑. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๓๕ ๒. (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๘ ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๓๙ ๓. (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๙ ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๓๙ ๔. (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๑ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ ๕. (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒ ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๔๒ ๖. (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๕ ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๕ ๗. (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๒ ใช้บังคับเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๒ ๘. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙

162 การจัดหาพัสดุ การจัดหา ๑. การจัดทำเอง ๒. การซื้อ ๓. การจ้าง
๔. การจ้างที่ปรึกษา ๕. การจ้างออกแบบควบคุมงาน ๖. การแลกเปลี่ยน ๗. การเช่า

163 การกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ

164 ๒๒/๒๕๔๖ สั่ง ณ วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
คำสั่งมอบอำนาจ ๒๒/๒๕๔๖ สั่ง ณ วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ มอบอำนาจเกี่ยวกับการดำเนินการจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้าง ที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคุม การจำหน่ายและการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ของ สนง.เขตพื้นที่การศึกษาหรือสถานศึกษาแล้วแต่กรณี ให้ ผอ.สนง.เขตพื้นที่การศึกษา และผู้อำนวยการสถานศึกษาปฏิบัติราชการแทนเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเต็มวงเงินที่เป็นอำนาจของ หน.ส่วนราชการ

165 คำสั่งมอบอำนาจเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง
การใช้เงินงบประมาณ เงินรายได้สถานศึกษา เงินอุดหนุนใช้คำสั่งมอบอำนาจของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ๒๒/๒๕๔๖ ทุกเรื่องที่ใช้เงินดังกล่าวได้หรือไม่

166 การซ้อมความเข้าใจตามคำสั่งมอบอำนาจ
หนังสือที่ ศธ 04009/9584 ลงวันที่ 28 กันยายน 2548 การมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจดำเนินการเฉพาะในส่วนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเท่านั้น ในส่วนสถานศึกษาการดำเนินการตามระเบียบผู้อำนวยการสถานศึกษาจะต้องดำเนินการเองตามที่ได้รับมอบอำนาจ

167 การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
ความหมาย: การซื้อ การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้น เว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะตามระเบียบฯ ข้อ 23 (6) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ต้องใช้วิธีพิเศษจะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้

168 ความหมาย: การจ้าง การจ้างทำของ และการรับขนตาม ปพพ. การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ การรับขนในการเดินทางไป ราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน

169 หน้าที่และความรับผิดชอบ (จะมอบอำนาจให้แก่ผู้ดำรงอื่น
การมอบอำนาจ ผู้รับมอบอำนาจ คำนึงถึง ระดับ ตำแหน่ง หน้าที่และความรับผิดชอบ (จะมอบอำนาจให้แก่ผู้ดำรงอื่น ต่อไปไม่ได้) ผู้มีอำนาจ ดำเนินการ ตามระเบียบฯ (ส่วนกลาง เลขาฯ) มอบอำนาจ ผู้อำนวยการโรงเรียนมอบอำนาจให้รองผู้อำนวยการโรงเรียนได้หรือไม่?

170 คำสั่งทางปกครองเกี่ยวกับการพัสดุ
การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่าซื้อหรือเช่า - การสั่งอนุมัติซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย หรือให้เช่า - การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอ - การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน

171 การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

172 การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง หมายถึง
๑. การที่ผู้ดำเนินการซื้อหรือจ้างมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง วิธีการตามวงเงินที่กำหนดไว้ในระเบียบ ๒. การมีเจตนาแบ่งการซื้อหรือจ้างเป็นหลายครั้ง อันมีผลทำให้อำนาจในการสั่งการเปลี่ยนแปลงไป

173 การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การจัดซื้อพัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้ต่างขนาดและราคา เมื่อมีการประมาณการความต้องการในการใช้งานของทั้งปีแล้ว จะต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผลที่ชัดเจนที่จำเป็นต้องแยกซื้อที่ไม่ใช่เป็นการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริหารการพัสดุ จะต้องกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินการจัดซื้อโดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราว ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้งานจริง

174 แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
-วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ -พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ -พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่ -เจตนา

175 การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง ตามระเบียบพัสดุข้อ ๒๒ วรรคหนึ่ง “การซื้อการจ้างตามข้อ ๑๙ (ตกลงราคา) และข้อ ๒๐ (สอบราคา) ถ้าผู้สั่งซื้อหรือผู้สั่งจ้างเห็นสมควรจะสั่งให้กระทำโดยวิธีที่กำหนดไว้สำหรับวงเงินสูงกว่าก็ได้ วงเงิน ๕๐,๐๐๐ บาท (ตกลงราคา) ดำเนินการ สอบราคา ได้ วงเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท (สอบราคา) ดำเนินการ ประกวดราคา ได้ วงเงิน ๒,๕๐๐,๐๐๐ บาท (ประกวดราคา) ดำเนินการ วิธีพิเศษ ได้/ไม่ได้

176 ตามระเบียบพัสดุข้อ ๒๒ วรรคสอง “การแบ่งซื้อหรือแบ่งจ้างโดยลดวงเงินที่จะซื้อหรือจ้างในครั้งเดียวกันเพื่อให้วงเงินต่ำกว่าที่กำหนดโดยวิธีหนึ่งวิธีใด หรือเพื่อให้อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างเปลี่ยนไปจะกระทำมิได้”

177 ตัวอย่าง ๑ โรงเรียนฯได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นงบรายจ่ายอื่น รวมเป็นเงิน ๑,๑๙๐๐,๐๐๐ บาท โดยให้เบิกจ่าย ๑.ในลักษณะงบดำเนินงาน จำนวน ๙๐,๐๐๐ บาท โดยโรงเรียนจะไปดำเนินการซ่อมแซมอาคารเรียน ๒. งบลงทุน (จ้างปรับปรุงสิ่งปลูกสร้าง จำนวนเงิน ๘๐๐,๐๐๐ บาท ซื้อครุภัณฑ์จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท รวม ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๓. งบดำเนินงานจ้างเหมา เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท สพท.แจ้งจัดสรรแยกตามงบรายจ่ายต่าง ๆ คือ งบดำเนินงาน งบลงทุน งบจ้างบุคลากร โรงเรียนจะดำเนินการอย่างไร ?

178 ๑. โรงเรียนดำเนินการแยกตามงบ
๒. การจ้างบุคลากรต้องมีเงินประกันสังคมหรือไม่

179 ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง

180 ผู้เกี่ยวข้องกับการซื้อ/จ้าง
- จนท.พัสดุ - หน.จนท.พัสดุ - หัวหน้าส่วนราชการ - ผู้สั่งซื้อ สั่งจ้าง - คณะกรรมการต่าง ๆ - ผู้ควบคุมงาน ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี

181 จนท.พัสดุ/หน.จนท.พัสดุ ๑. ตำแหน่ง ๒. แต่งตั้ง

182 จนท.พัสดุ เจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุตามระเบียบนี้ หน.จนท.พัสดุ หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบกองซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามที่องค์กร กลางบริหารงานบุคคลกำหนดหรือข้าราชการอื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ

183 หน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
1. จัดซื้อหรือจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา (39) 2. รวบรวมความเห็นของคณะกรรมการ - เปิดซองสอบราคา ๔๒ (5) - พิจารณาผลการประกวดราคา 50 (3) - จัดซื้อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ (57) (58) เสนอหัวหน้าส่วนราชการ/ผู้รับมอบอำนาจ

184 3. เก็บรักษาซองในการสอบราคา ตามข้อ 41
4. รับผิดชอบควบคุมดูแล และจัดทำหลักฐาน การเผยแพร่ ในการปิดประกาศประกวดราคา ภายในระยะเวลาที่กำหนด ตามข้อ 45 5. จัดซื้อหรือจัดจ้างวิธีกรณีพิเศษ (59) ครั้งหนึ่ง ไม่เกิน 100,000 บาท 6. ดูแลบำรุงรักษาและตรวจสอบความชำรุด บกพร่องภายในกำหนดเวลารับประกัน

185 หน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัสดุ
๑. ทำรายงานขอซื้อขอจ้าง (๒๗) และดำเนินการ ตามวิธีซื้อ หรือวิธีจ้าง (๒๙) ๒. ต่อรองและตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง วิธีตกลงราคา (๓๙) ๓. ปิดประกาศ ส่งประกาศสอบราคาไปร้านค้า (๔๑) จัดทำเอกสารสอบราคา (๔๐)

186 ๔. จัดทำเอกสารประกวดราคา (๔๔)
๕. การประกวดราคา - จัดเตรียมตู้ที่มีกุญแจปิดตลอดเวลา - จัดเตรียมเอกสารส่งมอบให้ผู้นำส่งไปประกาศทางวิทยุ ส่วนราชการ (๔๕)

187 ๖. รับซองใบเสนอราคาในการซื้อหรือการจ้างโดยวิธีสอบราคากรณียื่นซองโดยตรง (๔๑)
- ๗. เตรียมการเกี่ยวกับการให้หรือขายแบบตาม (๔๖)

188 ๘. รับใบตรวจรับพัสดุ หรืองานจ้างจากคณะกรรมการ
ตรวจรับ และดำเนินการเบิกเงิน ให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง (๗๑,๗๒) ๙. จัดทำรายงานเสนอความเห็นในการแลกเปลี่ยนพัสดุ (๑๒๔) และทำรายงานการเช่าตามข้อ ๑๓๐ ๑๐. ลงบัญชี หรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ ที่ได้รับมอบ เรียบร้อยแล้ว (๑๕๒)

189 ๑๑. เสนอรายงานเกี่ยวกับการจำหน่ายพัสดุ (๑๕๗)
๑๒. ลงจ่ายพัสดุที่ได้จำหน่ายแล้วออกจากบัญชี หรือทะเบียน (๑๖๐)

190 คณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง
คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการกำหนดราคากลาง (มติคณะรัฐมนตรี)

191

192 องค์ประกอบของคณะกรรมการ
ประธาน ๑ คน กรรมการอื่นอย่างน้อย ๒ คน แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้ง บุคคลอื่นอีกไม่เกิน ๒ คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ ๗ พ.ศ. (๒๕๕๒) ) ** ต้องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณา

193 องค์ประกอบของคณะกรรมการ (ต่อ)
กวพ. อนุมัติให้ส่วนราชการสามารถแต่งตั้งลูกจ้างประจำของส่วนราชการเป็นกรรมการ ตามระเบียบฯ โดยการแต่งตั้งลูกจ้างประจำ จะต้องคำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ)๐๔๒๑.๓/ว ๔๑๗ ลว. ๒๒ ตค. ๕๓) ** การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

194 (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) ๐๔๒๑.๓/ว ๓๔๑ ลว. ๒๐ กย. ๕๓)
หลักการตามระเบียบฯ สำหรับการซื้อ / จ้าง ไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท ตามระเบียบฯ ข้อ ๓๕ วรรคท้าย ให้แต่งตั้งข้าราชการ / ลูกจ้างประจำคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่ผู้จัดซื้อหรือ จัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างนั้น กวพ. อนุมัติผ่อนผันการแต่งตั้ง พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ เป็นผู้ตรวจรับพัสดุหรืองานจ้าง (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค (กวพ) ๐๔๒๑.๓/ว ๓๔๑ ลว. ๒๐ กย. ๕๓)

195 ข้อห้าม !! แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา
เป็น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล การประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ

196 กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่
เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือ รับซองประกวดราคาให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการ คนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ ๔๒ (๑) หรือข้อ ๔๙ แล้วรายงานประธาน

197 การประชุมของคณะกรรมการ
องค์ประชุม ประธาน + กรรมการไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งและประธานจะต้องอยู่ด้วยทุกครั้ง มติกรรมการ ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิ่มอีก 1 เสียง ยกเว้น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง *ต้องใช้มติเอกฉันท์*

198 ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง
นอกจากวิธีพิเศษ / กรณีพิเศษ ๑. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท) ๒. ปลัดกระทรวง(เกิน ๕๐ล้านบาท ไม่เกิน ๑๐๐ ล้านบาท) รัฐมนตรีเจ้าสังกัด (เกิน ๑๐๐ ล้านบาท) ๔. ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ

199 ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง
โดยวิธีพิเศษ ๑. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน ๒๕ ล้านบาท) ๒. ปลัดกระทรวง (เกิน ๒๕ ล้านบาท ไม่เกิน ๕๐ ล้านบาท) ๓. รัฐมนตรีเจ้าสังกัด (เกิน ๕๐ ล้านบาท) โดยวิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการไม่จำกัดวงเงิน

200 อำนาจตามระเบียบ อำนาจดำเนินการ - อำนาจในการให้ความเห็นชอบในการซื้อจ้าง
- อำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการ อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง อำนาจลงนามในสัญญา

201 การจัดทำราคากลาง (งานก่อสร้าง)

202 ความหมาย: งานก่อสร้าง
หมายถึง - งานก่อสร้างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ หมายความรวมถึง ๑. งานเคลื่อนย้ายอาคาร ๒. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงานซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจำเป็นจะต้องมีการควบคุม และดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลาดำเนินการตามความเหมาะสม (ที่ นร (กวพ)๑๒๐๔/ว ๑๙๓๙ ลว ๒๔ ก.พ.๒๕๓๗)

203 คำถาม โรงเรียนได้รับงบประมาณปรับปรุงอาคารเรียนจำนวน ๗๐,๐๐๐ บาท จะต้องจัดทำราคากลางหรือไม่ โรงเรียนใช้เงินอุดหนุนรายหัว ซ่อมแซมอาคารเรียนจำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท จะต้องจัดทำราคากลางหรือไม่

204 ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
ความหมาย: ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละโครงการ ซึ่งได้จากการประเมินหรือคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ ทางราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และเป็นราคาที่ไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้

205 งานก่อสร้าง งานก่อสร้าง จะต้องกำหนดค่า K มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๓๒ แจ้งตาม หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ นร ๐๒๐๓ /ว ๑๐๙ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๒ เรื่อง การพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพงานก่อสร้าง งานปรับปรุงหรืองานซ่อมแซมอาคารวงเงินไม่เกิน ๑ แสนบาท (วิธีตกลงราคา) จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคาหรือไม่ มติ ครม. ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๕ กำหนดให้ งานก่อสร้างทุกงาน ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง

206 การคำนวณราคากลาง กำหนดราคากลาง
องค์ประกอบ ๑. ประธาน ข้าราชการตั้งแต่ระดับ ๓ หรือเทียบเท่า ขึ้นไป ๑ คน ๒. กรรมการอย่างน้อย ๒ คน ควรแต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับ ๓ หรือเทียบเท่าขึ้นไป กำหนดราคากลาง ๓. ควรมีผู้มีความรู้เกี่ยวกับการประมาณราคาร่วมเป็น กรรมการด้วย กรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการจะแต่งตั้งบุคคลภายนอกซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับการก่อสร้างร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้

207 อำนาจหน้าที่ คำนวณราคากลางงานก่อสร้างให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์แล้วนำเสนอหัวหน้าส่วนราชการก่อนวันประกาศสอบราคาหรือประกวดราคาหรือก่อนดำเนินการจัดทำ TOR สำหรับการจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

208 กรณีราคากลางแตกต่างกับราคาของผู้เสนอราคารายที่เห็นสมควรจ้างตั้งแต่ร้อยละ ๑๕ ขึ้นไป ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางแจ้งรายละเอียดการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างให้ สตง.ทราบโดยเร็ว การแจ้ง สตง.ไม่มีผลผูกพันต่อผู้มีอำนาจในการพิจารณารับหรือไม่รับราคาของผู้เสนอราคา

209 ในการจ้างก่อสร้างให้ประกาศราคากลางที่คณะกรรมการกำหนดราคากลางได้คำนวณไว้ในประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา หรือการจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ รายละเอียดของการคำนวณราคากลางตาม BOQ (Bill of Quantities) ให้จัดเตรียมไว้ หากมีผู้สนใจขอตรวจดูหรือขอถ่ายสำเนา จะต้องดำเนินการตามคำขอทันที และให้ปฏิบัติตาม พรบ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

210 งานก่อสร้างของทางราชการ
การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างของทางราชการ ราคาวัสดุก่อสร้างให้ใช้ราคาปัจจุบัน ส่วนกลาง (กรุงเทพฯ ปริมณฑล) ใช้ราคา สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ส่วนภูมิภาคใช้ราคาสำนักงานพาณิชย์จังหวัด

211 ถ้าไม่ได้กำหนดราคาไว้
ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสืบราคาเอง พร้อมทั้งจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการสืบราคา และการกำหนดราคาดังกล่าวไว้เป็นหลักฐาน

212

213

214

215

216

217 ปัญหาเกี่ยวกับราคากลาง
ไม่จัดทำราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ ไม่กำหนดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่มติ ครม.กำหนด ดังนี้ (๑) ใช้อัตรา Factor F ไม่ถูกต้อง (๒) คำนวณ Factor F โดยนำครุภัณฑ์มาคำนวณ Factor F) ๓. จัดทำแต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ (๑) ราคากลางที่ได้สูงกว่าวงเงินงบประมาณที่มี จึงนำราคา งปม. มาเป็นราคากลาง (๒) ไม่ได้พิจารณาเปรียบเทียบราคากลางกับใบแจ้งปริมาณวัสดุที่ผู้รับจ้างเสนอ ทำให้ถูกเรียกเงินคืน

218 (๒) ไม่ได้พิจารณาเปรียบเทียบราคากลางกับใบแจ้งปริมาณวัสดุที่ผู้รับจ้างเสนอ ทำให้ถูกเรียกเงินคืน กรณีเช่น - จำนวนเข็มที่ผู้รับจ้างเสนอมากกว่าแบบ (ไม่ตรงตามข้อเท็จจริง) เช่น ตามแบบเสาเข็ม ๑๐๐ ต้น เสนอ ๑๕๐ ต้น - ราคาต่อหน่วยเข็มต่ำกว่าราคากลางมากและมีการงดตอกเสาเข็มทำให้ราชการหักเงินคืนค่าเข็มได้น้อยทำให้จ้างในราคาแพง เช่นราคากลาง เข็มต้นละ ๗,๐๐๐ บาท เสนอ ๒,๐๐๐ บาท - ผู้รับจ้างเสนอครุภัณฑ์เกินกว่าแบบ เช่น ประถมกำหนดโต๊ะเก้าอี้นักเรียน ๓๐ ชุดต่อห้อง เสนอ ๔๐ ชุดต่อห้อง (ระดับ ม.)

219 ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
การจัดซื้อจัดจ้าง ตกลงราคา ประกวดราคา วิธีกรณีพิเศษ สอบราคา วิธีพิเศษ ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

220 การซื้อ/การจ้าง มี ๖ วิธี
๑. วิธีตกลงราคา ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒. วิธีสอบราคา เกิน ๑๐๐,๐๐๐ – ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๓. วิธีประกวดราคา เกิน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ๔. วิธีพิเศษ เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และมีเหตุจำเป็น ตามเงื่อนไข ๕. วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีวงเงิน แต่มีเงื่อนไข

221 ๖. วิธีการประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ปี ๒๕๔๙) เป็นวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์คือ การแข่งขันเสนอราคาด้วยระบบเล็กทรอนิกส์ การซื้อ/การจ้างครั้งหนึ่งมีราค่าตั้งแต่ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

222 รายละเอียดของรายงาน เหตุผลความจำเป็น รายละเอียดของพัสดุ
ราคามาตรฐาน หรือราคากลาง หรือราคา ครั้งหลังสุดไม่เกิน ๒ ปี วงเงินที่จะซื้อ / จ้าง กำหนดเวลาที่ต้องใช้ วิธีจะซื้อ / จ้าง ข้อเสนออื่น ๆ - การแต่งตั้งคณะกรรมการ - การออกประกาศสอบราคา หรือ ประกวดราคา

223 (ตัวอย่าง)การไม่ทำรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง ก่อนการจัดหาตามระเบียบฯข้อ ๒๗
(ตัวอย่าง)การไม่ทำรายงานขอซื้อ/ขอจ้าง ก่อนการจัดหาตามระเบียบฯข้อ ๒๗ - ผอ.โรงเรียน ก. สั่งให้หน.เจ้าหน้าที่พัสดุจ้างบริษัท ฯ ต่อเติม ปรับปรุงอาคารฯเป็นห้องประชุมและห้องปฏิบัติการโดยมิได้จัดทำ รายงานขอจ้างและมิได้จ้างโดยวิธีสอบราคาตามระเบียบฯข้อ ๒๗, ข้อ ๒๐ ผู้มีอำนาจมีคำสั่งลงโทษข้าราชการทั้งสองแล้ว แนวปฏิบัติมติกวพ.(ปี๕๐)ให้แจ้งให้ส่วนราชการจัดทำสัญญากับ บริษัท ฯในส่วนของงานที่ได้ทำไปแล้วและทำการตรวจรับตาม ระเบียบฯ ส่วนเนื้องานที่ยังไม่ได้ก่อสร้าง ต้องแต่งตั้งคกก.กำหนดราคากลาง เพื่อคำนวณราคางานก่อสร้างส่วนที่เหลือ และจัดหาพัสดุใหม่ต่อไป

224 ข้อยกเว้น การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคา วงเงินไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท และ วิธีพิเศษกรณีเร่งด่วนตาม ๒๓ (๒) หรือ ๒๔(๓) ซึ่งไม่อาจทำรายงานตามปกติได้ จะทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้างเฉพาะรายการที่เห็นว่าจำเป็นก็ได้ การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคาในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ตามข้อ ๓๙ วรรคสอง ไม่ต้องทำรายงานขอซื้อขอจ้างตามข้อ ๒๗ แต่ต้องทำรายงานขอความเห็นชอบ

225 ตกลงราคา กรณีปกติ ผู้บริหาร รร. ตามข้อ ๓๙ วรรคหนึ่ง จนท.พัสดุ
หน.จนท.พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ผู้บริหาร ส่งพัสดุ ตรวจรับ เบิกจ่าย

226 ตกลงราคา เบิกจ่ายเงิน ผู้บริหาร หน.จนท.พัสดุ ตามข้อ ๓๙ วรรคสอง
จนท.ผู้รับผิดชอบ จนท.พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง

227 คำสั่งซื้อถาวร (Blanket Orders)
สั่งซื้อพัสดุชนิดเดียวแต่ราคาตายตัว คำสั่งซื้ออาจจะเป็นสัญญาหรือข้อตกลง ของการจัดหาพัสดุจำนวนหนึ่งให้ได้ในปริมาณที่กำหนด และในราคาที่ตกลงกันไว้ ถ้ามิได้ระบุราคาไว้ก็ต้องมีวิธีการคิดราคาระบุไว้ในสัญญา การส่งของมีการกำหนดในข้อตกลงที่จะส่งพัสดุตามที่ระบุไว้ไปให้ผู้ซื้อตามที่ต้องการภายในระยะเวลาที่กำหนด มิได้ระบุปริมาณทั้งหมดไว้ แต่มีการคำนวณระยะเวลาสิ้นสุด

228 ๒. เป็นการยืนยันให้แน่ใจว่ามีการส่งของสม่ำเสมอ
ข้อดี ๑. เกิดความง่ายในงานเอกสารเพื่อออกคำสั่งซื้อและใบส่งของ ๒. เป็นการยืนยันให้แน่ใจว่ามีการส่งของสม่ำเสมอ ๓. ลดการลงทุนในพัสดุคงคลังจากจำนวนมากลงสู่จำนวนพอเหมาะกับการใช้ ๔. ลดเวลาการจัดซื้อ /สามารถรวบรวมข้อมูลได้ง่าย ๕. รวมการจัดหาพัสดุเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย - การสรรหาผู้ค้าและอุปกรณ์ที่เหมาะสม - เจรจาต่อรองในปริมาณรวม

229 สัญญา ๑. สัญญามีกำหนดระยะเวลา เริ่ม - จบ
๑. สัญญามีกำหนดระยะเวลา เริ่ม - จบ ๒. ผู้ขายจำเป็นต้องมีสินค้าสำรองไว้ในคลังเพื่อให้ผู้ซื้อตามสัญญา ๓. กำหนดเวลาส่งของต้องได้ตามสัญญา ๔. กำหนดให้ผู้ซื้อสามารถยกเลิกสัญญาได้ - กรณีสินค้าไม่ได้คุณภาพ - ไม่ตรงตามกำหนดเวลา

230 การซื้อพัสดุประเภทเดียวกันและใช้งานทั้งปี
การจัดซื้อพัสดุประเภท/ชนิดเดียวกัน/แม้จะต่างขนาดและต่างราคากันก็ตาม หากมีความต้องการใช้งานรวมทั้งปีวงเงินเกิน๑๐๐.๐๐๐ บาทแล้วต้องใช้วิธีสอบราคา/ประกวดราคา วิธีปฏิบัติ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ทั้งในการเก็บรักษา หรือควบคุมคุณภาพและปริมาณของพัสดุที่จัดซื้อ หน่วยงานสามารถกำหนดเงื่อนไขการจัดซื้อ โดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราวๆให้สอดคล้องกับความต้องการใช้งานจริง ของแต่ละช่วงเวลาได้

231 ลักษณะของ สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ
เป็นสัญญาที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้กับการซื้อขายที่มีราคาพัสดุต่อหน่วยที่คงที่ แน่นอนตลอดอายุสัญญา แต่การจัดซื้อตามสัญญา ผู้ซื้อจะทะยอยการสั่งซื้อตามความต้องการของผู้ซื้อโดยผู้ขายสัญญาว่าจะเตรียมพัสดุไว้ให้เพียงพอตามจำนวนที่ได้ประมาณการไว้ในสัญญา โดยมีวงเงินตามสัญญา ประมาณไว้ไม่เกินกว่าวงเงิน ที่ดำเนินการจัดหาในครั้งนั้น

232 การประกันภัยทุกชนิด ““ มิไช่พัสดุ” ไม่ต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ
การประกันภัยทุกชนิด ““ มิไช่พัสดุ” ไม่ต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ (คำวินิจฉัยกวพ. ปี๒๕๕๐,๒๕๕๒) การประกันภัยรถยนต์/ประกันชีวิต/ประกันวินาศภัยมิใช่การจัดหาพัสดุ จึงไม่อยู่ในบังคับที่ต้อง จัดหา ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม แต่เป็นการดำเนินการตามพรบ.ประกันภัยประเภทนั้น ๆ จึงอยู่ในดุลพินิจของส่วนราชการที่จะดำเนินการจัดหาได้ตามความเหมาะสม

233 การใช้บริการInternet ต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุนี้
การเช่าใช้บริการระบบวงจรสื่อสารความเร็วสูง ด่วนที่สุด ที่กค(กวพ)๐๔๐๘.๔/๑๙๘๗๘ ลว.๑๔ ส.ค.๒๕๕๐ แม้สำนักงบประมาณจะจัดสรรให้เบิกจ่ายจากงบดำเนินการ ในลักษณะค่าสาธารณูปโภค ก็ตาม แต่ปัจจุบัน มิได้จำกัดแต่เฉพาะรัฐวิสาหกิจเท่านั้นที่ให้บริการ แต่ยังมีบริษัทเอกชนที่ให้บริการหลายราย ซึ่งมีอัตราแตกต่างกัน และสามารถลดราคาค่าติดตั้งและค่าธรรมเนียมได้ ดังนั้น เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ และก่อให้เกิดความเป็นธรรม จึงเห็นว่า การเช่าวงจรสื่อสารลักษณะดังกล่าว จะต้องปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕และที่แก้ไขเพิ่มเติม

234 กวพ.มีหนังสือแจ้งเวียนรายการที่ได้รับยกเว้น
ไม่ต้องจัดหาตามระเบียบฯพัสดุ หนังสือแจ้งเวียนของคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ตามหนังสือที่ กค(กวพ)๐๔๒๑.๓/ว ๑๙๓ ลว.๘ มิถุนายน ๒๕๕๒ อนุมัติให้การจัดหาอาหาร /อาหารว่างและเครื่องดื่ม และค่าเช่าที่พัก ของส่วนราชการต่าง ๆ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๙ และกรณีอื่น ๆ ตามที่กระทรวงการคลังอนุมัติให้เบิกจ่ายได้ โดยไม่ต้องถือปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

235 การเบิกจ่ายค่ากำจัดปลวก
จ่ายก่อนเมื่อลงนามในสัญญา จ่ายเมื่องานเสร็จแต่ละครั้ง จ่ายเมื่อทำงานแล้วเสร็จทั้งหมด พัสดุ

236 การจัดซื้อน้ำมันเติมรถยนต์ของโรงเรียน
ปัจจุบันดำเนินการอย่างไร ?

237 การเบิกจ่ายค่ากำจัดปลวก
จ่ายก่อนเมื่อลงนามในสัญญา จ่ายเมื่องานเสร็จแต่ละครั้ง จ่ายเมื่อทำงานแล้วเสร็จทั้งหมด พัสดุ

238 การจัดซื้อน้ำมันเติมรถยนต์ของโรงเรียน
ปัจจุบันดำเนินการอย่างไร ?

239 การจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

240 นิยาม สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หมายถึง สินค้าที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากขั้นตอนการจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง การใช้งาน และการจัดการหลังหมดอายุการใช้งานน้อยกว่าเมื่อเทียบกับสินค้าอื่นที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกัน บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หมายถึง ธุรกิจบริการที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากขั้นตอนการจัดหาวัตถุดิบ การใช้ทรัพยากรและพลังงานในช่วงการให้บริการและการจัดการของเสียที่เกิดขึ้นจากการให้บริการน้อยกว่าเมื่อเทียบกับการให้บริการอื่นที่มีลักษณะอย่างเดียวกัน

241 สินค้าและบริการ กระดาษคอมพิวเตอร์ กระดาษชำระ ก่องใส่เอกสาร
เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์ เครื่องเรือนหลัก ซองบรรจุภัณฑ์ ตลับหมึก แบตเตอรี่ปฐมภูมิ ปากการไวท์บอร์ด ผลิตภัณฑ์ลบคำผิด แฟ้มเอกสาร สีทาอาคาร หลอดฟลูออเรสเซนต์ บริการทำความสะอาด บริการโรงแรม บริการเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร

242 สอบราคา จนท.พัสดุ ผู้บริหาร จัดทำรายงานประกาศ เอกสาร คณะกรรมการ
๑ วัน ผู้บริหาร ๑ วัน จัดทำรายงานประกาศ เอกสาร คณะกรรมการ หนังสือแจ้ง หน.จนท.พัสดุ ลงนามในเอกสาร

243 การดำเนินการสอบราคา วิธีดำเนินการ - เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำเอกสารตามข้อ ๔๐ - การเผยแพร่เอกสาร ก่อนวันปิดการรับซองไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน ปิดประกาศ/ส่งโดยตรงทางไปรษณีย์ลงทะเบียน

244 เอกสารสอบราคา ประกาศเผยแพร่ (ประกาศย่อ) เอกสารสอบราคา
ใบเสนอราคา แบบหลักประกันสัญญา แบบรูปรายการต่างๆ ตัวอย่างสัญญา

245 เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐
คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ต้องการซื้อและจำนวน ที่ต้องการ คุณสมบัติของผู้เสนอราคาซึ่งจะต้องมีอาชีพขายหรือรับจ้าง กรณีจำเป็นให้ระบุให้ผู้เสนอราคาส่งตัวอย่างแค๊ตตาล็อกหรือแบบรูปรายการ กรณีจำเป็นต้องมีการตรวจทดลอง ให้กำหนดตัวอย่าง ในการตรวจทดลอง สถานที่ติดต่อเกี่ยวกับแบบรูปรายการละเอียด กรณีมีการขายให้ระบุราคาขายด้วย

246 เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐
ข้อกำหนดให้ผู้เข้าเสนอราคาเสนอราคารวมทั้งสิ้น และราคาต่อหน่วยหรือต่อรายการ แบบใบเสนอราคา กำหนดระยะเวลายืนราคา กำหนดสถานที่ส่งมอบและวันส่งมอบ กำหนดสถานที่ วัน เวลา เปิดซองสอบราคา

247 เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐
ข้อกำหนดให้ผู้เสนอราคาผนึกซองราคาให้เรียบร้อยก่อนยื่นซอง จ่าหน้าซองประธานกรรมการเปิดซอง ให้ส่งถึงส่วนราชการก่อนวันเปิดซอง กำหนดให้ส่งเอกสารหลักฐานต่างๆ พร้อมจัดทำบัญชีรายการเอกสารเสนอไปพร้อมกัน (กรณียื่นซองทางไปรษณีย์ให้กำหนดวิธีการปฏิบัติไว้ให้ชัดเจน) กำหนดเงื่อนไขในการสงวนสิทธิ์กรณีไม่ไปทำสัญญาหรือข้อตกลงกับทางราชการเป็นผู้ทิ้งงาน ข้อกำหนดให้ผู้เข้าเสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกให้ไปทำสัญญาต้องวางหลักประกันสัญญาตามชนิด และอัตราในข้อ ๑๔๑ และ ข้อ ๑๔๒

248 เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐
ร่างสัญญา รวมทั้งการแบ่งงวดงาน การจ่ายเงิน เงื่อนไขการจ่ายเงินล่วงหน้า (ถ้ามี) และอัตราค่าปรับ ข้อสงวนสิทธิ์ที่จะไม่พิจารณาผู้เสนอราคาที่เป็นผู้ทิ้งงานของ ทางราชการ และสิทธิ์ที่จะงดซื้อหรือจ้าง เลือกซื้อจ้าง โดย ไม่จำเป็นต้องซื้อจ้างจากผู้เสนอราคาต่ำสุดเสมอไป พิจารณายกเลิกการสอบราคา และลงโทษผู้เสนอราคาเสมือนผู้ทิ้งงาน กรณีไม่สุจริต และมีการสมยอมกันในการเสนอราคา

249 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๗
เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๗ ให้ส่วนราชการลงประกาศความต้องการในการจัดซื้อจัดจ้าง/การประกวดราคาให้เป็นที่รู้ทั่วกันอย่างกว้างขวางใน website

250 หนังสือกรมบัญชีกลาง ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๔๘ ขอ ให้เผยแพร่ข้อมูลประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง โดยขอให้หน่วยงานบันทึกข้อมูลประกาศจัดซื้อจัดจ้างทุกรายการผ่านทางเว็บไซต์ ของกรมบัญชีกลาง โดยหน่วยงานที่ไม่มี USERNAME /Password สามารถ Download แบบฟอร์ม ได้ในเว็บไซต์

251 สพฐ.สั่งการให้ดำเนินการ
หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/๔๙๒๘ ลงวันที่ ๕ กค. ๒๕๔๘ สพฐ.สั่งการให้ดำเนินการ ๑. สพฐ. กำชับให้จัดซื้อจัดจ้างตามมติคณะรัฐมนตรี ๒. การประกาศในเว็บไซต์ของส่วนราชการให้เผยแพร่ทาง เว็บไซต์

252 หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๔/ว ๑๒๐ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ให้ส่วนราชการจัดทำประกาศจัดซื้อจัดจ้างสำหรับวิธีสอบราคา ประกวดราคา และประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-GP ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๓ เป็นต้นไป

253

254

255

256

257 กรณีโรงเรียนได้รับจัดสรรงบประมาณ
๑. เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๒. เครื่องถ่ายเอกสาร เป็นเงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท ๓. เครื่องทำน้ำเย็น เป็นเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๔. โต๊ะเก้าอี้นักเรียน เป็นเงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๕๙๐,๐๐๐ บาท โรงเรียนจะดำเนินการอย่างไร

258 เอกสารสอบราคาซื้อ เลขที่ ……
 ให้ระบุส่วนราชการผู้มอบอำนาจ เอกสารสอบราคาซื้อ เลขที่ …… การซื้อ ………( ระบุประเภท/ชนิดของพัสดุที่ซื้อ )…………. ตามประกาศโรงเรียน ……………………………… ลงวันที่ ………………….…….. โรงเรียน …………… สังกัด…..……………….……… ซึ่งต่อไปนี้ เรียกว่า “โรงเรียน” มีความประสงค์จะสอบราคาซื้อ …………(วัสดุ/ครุภัณฑ์) ……………… ตามรายการ ดังนี้ 1. ………………………………………………….จำนวน………………… 2. ………………………………………………….จำนวน…………………. 3. ………………………………………………….จำนวน…………………. ซึ่งพัสดุที่จะซื้อนี้ต้องเป็นของแท้ ของใหม่ ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็นของเก่าเก็บ อยู่ในสภาพที่จะใช้งานได้ทันที และมีคุณลักษณะเฉพาะตรงตามที่กำหนดไว้ในเอกสารสอบราคาฉบับนี้ โดยมีข้อแนะนำและข้อกำหนด ดังต่อไปนี้ 5. หลักเกณฑ์และสิทธิในการพิจารณาราคา 5.1 ในการสอบราคาครั้งนี้ โรงเรียนจะพิจารณาตัดสินด้วย ………………

259 โรงเรียนจะดำเนินการอย่างไร
ผลการเสนอราคา รายการ งปม เสนอราคา ๑. เครื่องคอมพิวเตอร์ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๑๘๐,๐๐๐ บาท ๒. เครื่องถ่ายเอกสาร ๑๒๐,๐๐๐ บาท ๑๒๐,๐๐๐ บาท ๓. เครื่องทำน้ำเย็น ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๑๖๐,๐๐๐ บาท ๔. โต๊ะเก้าอี้นักเรียน ๑๒๐,๐๐๐ บาท ๑๓๐,๐๐๐ บาท ๕๙๐,๐๐๐ บาท ๕๙๐,๐๐๐ บาท โรงเรียนจะดำเนินการอย่างไร

260 ผู้เสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคลหรือไม่ ?
เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ ครม. กำหนดหลักเกณฑ์เพิ่มเติมกรณีงานจ้าง ก่อสร้างวงเงินตั้งแต่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป คุณสมบัติผู้เสนอราคาต้องเป็นนิติบุคคล

261 หนังสือรับรองผลงาน ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง หมายถึง
ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน กับงานที่ประกวดราคาจ้าง เป็นผลงานในสัญญาเดียว เป็นสัญญาผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตาม สัญญาที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับ เรียบร้อยแล้ว

262 หนังสือรับรองผลงาน ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจากการรับจ้างช่วง

263 ประกาศ/ปิด/ ส่งประกาศ/ ลง e-GP
ระยะเวลาการสอบราคา ไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน ประกาศ/ปิด/ ส่งประกาศ/ ลง e-GP แจก/รับซอง เปิดซอง

264 การยื่นซอง - ผนึกซองจ่าหน้าประธาน - ยื่นด้วยตนเอง /ไปรษณีย์ - ส่งถึงโรงเรียนภายในวันเวลาที่กำหนด การรับซอง - เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง - ส่งมอบหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที

265 ๑. คนยื่นซอง ๒. เอกสารยื่น ๓. วันเวลายื่น
ขณะยื่นซองดูอะไร ๑. คนยื่นซอง ๒. เอกสารยื่น ๓. วันเวลายื่น

266 การเก็บรักษาซอง - หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเก็บรักษาซอง - ส่งมอบคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาเมื่อถึง กำหนดเวลาเปิดซอง พร้อมรายงานผลการรับซอง ให้คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา

267 การรับและเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
ใบเสนอราคา/ บัญชีรายการก่อสร้าง ผู้เสนอราคา เอกสารส่วนที่ ๑ /๒ หน.จนท.พัสดุ เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา

268 คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
ตรวจสอบเอกสาร1 ก่อนเปิดซองใบเสนอราคา เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่ ตัดรายชื่อผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกัน/แจ้งโดยพลัน ประกาศรายชื่อ ผู้มีสิทธิ์

269 การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ในการเสนอราคา/เสนองาน
บุคคลนิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง/อ้อม) เชิงบริหาร ไขว้กัน เชิงทุน บุคคล/นิติบุคคลอื่น ในการเสนอราคา/เสนองาน ในคราวเดียวกัน

270 เชิงบริหาร บุคคลหรือนิติบุคคลอีกรายหนึ่งหรือหลายราย มีอำนาจ หรือสามารถ
ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน มีอำนาจ หรือสามารถ ใช้อำนาจ ในการบริหาร จัดการกิจการ บุคคลหรือนิติบุคคลอีกรายหนึ่งหรือหลายราย

271 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก. บ.มหาชน
เชิงทุน หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วน สามัญ/หจก. หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วนสามัญ หุ้นส่วนไม่จำกัด ความรับผิดใน หจก. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก. / บ มหาชน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก. บ.มหาชน

272 ไขว้กัน ผู้บริหาร หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ
สามัญ/ หจก. หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก. บ.มหาชน ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน

273 กรณีมีผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
๑. ไม่ประกาศรายชื่อผู้เสนอราคาทุกราย ๒. แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบโดยพลัน ๓. ไม่เปิดซองใบเสนอราคา ๔. ผู้เสนอราคามีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงภายใน ๓ วัน ๕. การยื่นอุทธรณ์ไม่เป็นการขยายเวลา เว้นแต่ปลัดกระทรวงเห็นว่าเป็นประโยชน์แก่ทางราชการ ๖. ปลัดกระทรวงเห็นด้วยกับคำคัดค้านของผู้อุทธรณ์ ปลัดกระทรวงมีอำนาจยกเลิก

274 กรณีผู้เสนอราคายื่นเอกสารส่วนที่ ๑ ไม่ครบ
๑. ไม่ประกาศรายชื่อผู้เสนอราคา (เฉพาะกรณีที่ยื่นไม่ครบ) ๒. แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบ ๓. ไม่เปิดซองใบเสนอราคา ๔. ไม่มีสิทธ์อุทธรณ์ตามระเบียบข้อ ๑๕ เบญจ วรรคสอง

275 ๑. เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้มีสิทธิได้รับการ
คัดเลือก อ่านราคา -บัญชีรายการเอกสาร/ตรวจ สอบรายการเอกสารตามบัญชีของผู้เสนอราคา ลงลายมือชื่อ ๒. ตรวจสอบคุณสมบัติ ใบเสนอราคา ราละเอียด คัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้อง ๓. คัดเลือกที่มีคุณภาพ/คุณสมบัติเป็นประโยชน์ ต่อทางราชการ ให้ซื้อ/จ้างที่เสนอราคาต่ำสุด

276 หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
(๑) เปิดซองใบเสนอราคา อ่านแจ้งราคาพร้อมบัญชีรายการเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ของผู้เสนอราคาทุกราย โดยเปิดเผยตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนด และตรวจสอบรายการเอกสารตามบัญชีของผู้เสนอราคาทุกรายแล้วให้กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกำกับไว้ในใบเสนอราคาและเอกสารประกอบใบเสนอราคาทุกแผ่น (๒) ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล๊อกหรือแบบรูปและรายการละเอียดแล้วคัดเลือก ผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา

277 (๓) พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรือของผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตาม (๒) ที่มี
(๓) พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรือของผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตาม (๒) ที่มี**คุณภาพและคุณสมบัติ**เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ และเสนอให้ซื้อจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด **หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ **

278 ในกรณีที่ผู้เสนอราคาต่ำสุดดังกล่าวไม่ยอมเขาทำสัญญาหรือข้อตกลงกับส่วนราชการในเวลาที่กำหนดตามเอกสารสอบราคาให้คณะกรรมการพิจารณาจากผู้เสนอราคาต่ำรายถัดไปตามลำดับ ถ้ามีผู้เสนอราคาเท่ากันหลายราย ให้เรียกผู้เสนอราคาดังกล่าวมาขอให้เสนอราคาใหม่พร้อมกันด้วยวิธียื่นซองเสนอราคา

279 (๔) ในกรณีที่มีผู้เสนอราคาถูกต้องตรงตามรายการละเอียดและเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารสอบราคาเพียงรายเดียวให้คณะกรรมการดำเนินการตาม (๓) โดยอนุโลม (๕) ให้คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้ทั้งหมดต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ โดยเสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ (๔) ในกรณีที่มีผู้เสนอราคาถูกต้องตรงตามรายการละเอียดและเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารสอบราคาเพียงรายเดียวให้คณะกรรมการดำเนินการตาม (๓) โดยอนุโลม

280 คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขที่ อ.๔๓/๒๕๔๖
พิจารณาคัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างของผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามข้อ ๒ ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการและเสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขที่ อ.๔๓/๒๕๔๖ (๔) ในกรณีที่มีผู้เสนอราคาถูกต้องตรงตามรายการละเอียดและเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในเอกสารสอบราคาเพียงรายเดียว ให้คณะกรรมการดำเนินการตาม (๓) โดยอนุโลม ห้างหุ้นส่วนจำกัด จิ้วเสรี ฟ้องว่าผู้ถูกฟ้องคดีได้ยกเลิกการสอบราคาเพราะมีผู้ยื่นซองสอบราคาเพียงรายเดียวทำให้ไม่สามารถเปรียบเทียบราคาได้และหากเปิดซองสอบราคาใหม่อาจได้ราคาที่ต่ำกว่านั้น เป็นการขัดต่อหลักเกณฑ์ในการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีสอบราคาระเบียบพัสดุ ข้อ ๔๒ (๔) และ ข้อ ๔๓ ซึ่งไม่ได้กำหนดให้ยกเลิกการสอบราคาด้วยเหตุดังกล่าวได้ คำสั่งยกเลิกการสอบราคาจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย

281 การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา
กรณีเกินวงเงิน (ข้อ ๔๓) เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือ สูงกว่าไม่เกิน ๑๐ % ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ ถ้าไม่ได้ผลอีก ขอเพิ่มเงิน หรือยกเลิกการสอบราคา

282 ขั้นตอนและวิธีการต่อรองราคา
เรียกรายต่ำสุดที่เห็นควรซื้อหรือจ้าง กรณียอมลดราคาอยู่ในวงเงินงบประมาณ ถ้าเหมาะสมให้เสนอซื้อหรือจ้างจากรายนั้น ยอมลดราคา แต่ยังเกินงบประมาณ ไม่เกินร้อยละ๑๐ ถ้าเหมาะสมให้เสนอซื้อหรือจ้างจากรายนั้น ยอมลด เกินกว่าร้อยละ ๑๐ เรียกทุกรายที่ถูกต้องมายื่นซองใหม่ ไม่ยอมลด ถ้าไม่เกินร้อยละ ๑๐ ถ้าเหมาะสมให้ซื้อ/จ้าง ถ้าไม่เหมาะสมให้ยกเลิก หรือหากเกินกว่าร้อยละ ๑๐ เรียกทุกรายที่ถูกต้องมายื่นซองใหม่

283 ขั้นตอนและวิธีการต่อรองราคา
ดำเนินการต่อรองไม่ได้ผล เสนอหัวหน้า ส่วนราชการเพื่อใช้ดุลพินิจว่าสมควร ลดรายการ ลดจำนวน ลดเนื้องาน หรือขอเงินเพิ่ม หรือยกเลิก ถ้าพิจารณาปรับลดรายการ ลดจำนวน หรือ ลดเนื้องานจากผู้เสนอราคาทุกราย หากรายต่ำสุด ที่ได้ยังเป็นรายต่ำสุดอยู่ให้ซื้อหรือจากรายนั้น หากปรับลดแล้วลำดับเปลี่ยน ให้ยกเลิก

284 ตัวอย่างการปรับลดราคาแล้วลำดับเปลี่ยน
งานก่อสร้าง งบประมาณ ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท มีผู้เสนอราคาจำนวน ๒ ราย ดังนี้ ๑. หจก. ขอนแก่น เสนอ ๑,๗๐๐,๐๐๐ บาท ๒. บริษัท หนองบัว จก. เสนอ ๑,๗๕๐,๐๐๐ บาท คณะกรรมการได้ทำการต่อรอง (๔๓(๑)) หจก. ขอนแก่น ลดราคาลงเหลือ ๑,๖๒๐,๐๐๐ บาท คณะกรรมการราคาได้เชิญเสนอราคาใหม่ (๔๓(๒)) แล้วปรากฏว่า ๑. หจก. ขอนแก่น เสนอ ๑,๕๕๐,๐๐๐ บาท ๒. บริษัท หนองบัว จก. เสนอ ๑,๕๖๐,๐๐๐ บาท คณะกรรมการเห็นควรปรับลดเนื้องานปรากฏว่า ราคาค่าครุภัณฑ์ หจก. ขอนแก่น เสนอ ๖๐,๐๐๐ บาท บริษัท หนองบัว จำกัด เสนอ ๘๐,๐๐๐ บาท

285 การประเมินราคาและการต่อรองราคา
๑. ขอบเขตของการประเมิน - เฉพาะงานก่อสร้าง - ผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้แล้วเสนอราคาอยู่ในวงเงิน ที่จะจ้าง - ประเมินราคาเฉพาะผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้แล้ว ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดเท่านั้น

286 ๒. วิธีการประเมิน ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาตรวจสอบราคาที่ผู้เสนอราคาได้เสนอไว้ในรายการที่เป็นหัวข้อใหญ่ของส่วนการก่อสร้างว่าถูกต้องหรือไม่ หากปรากฏว่าราคาของรายการใดสูงผิดปกติ ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ให้เชิญผู้เสนอราคารายนั้น มาเจรจาเพื่อปรับลดราคาลงมา แล้วแก้ไขยอดรวมให้ตรงกัน ซึ่งเมื่อประเมินราคาปรับลดแล้ว จะทำให้ยอดรวมใหม่ต่ำกว่ายอดรวมที่ผู้เสนอราคาได้เสนอไว้เดิม

287 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๗
เมื่อวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๗ ให้ส่วนราชการลงประกาศความต้องการในการจัดซื้อจัดจ้าง/การประกวดราคาให้เป็นที่รู้ทั่วกันอย่างกว้างขวางใน website

288 หนังสือกรมบัญชีกลาง ลงวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๔๘ ขอ ให้เผยแพร่ข้อมูลประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง โดยขอให้หน่วยงานบันทึกข้อมูลประกาศจัดซื้อจัดจ้างทุกรายการผ่านทางเว็บไซต์ ของกรมบัญชีกลาง โดยหน่วยงานที่ไม่มี USERNAME /Password สามารถ Download แบบฟอร์ม ได้ในเว็บไซต์

289 สพฐ.สั่งการให้ดำเนินการ
หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/๔๙๒๘ ลงวันที่ ๕ กค. ๒๕๔๘ สพฐ.สั่งการให้ดำเนินการ ๑. สพฐ. กำชับให้จัดซื้อจัดจ้างตามมติคณะรัฐมนตรี ๒. การประกาศในเว็บไซต์ของส่วนราชการให้เผยแพร่ทาง เว็บไซต์

290 หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๔/ว ๑๒๐ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ให้ส่วนราชการจัดทำประกาศจัดซื้อจัดจ้างสำหรับวิธีสอบราคา ประกวดราคา และประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ e-GP ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๓ เป็นต้นไป

291 หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑
หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๒๑.๖/ว ๑๙๘ ลงวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๑. ให้หน่วยเบิกจ่ายและหน่วยจัดซื้อในส่วนภูมิภาคใช้ระบบ e-GP ระยะที่ ๒ โดยครอบคลุมวิธีการจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด ๑๒ วิธีตามกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างทุกขั้นตอน ตั้งแต่การสร้างโครงการจนถึงขั้นตอนการบริหารสัญญา รวมทั้งการใช้ Web Online ของระบบ GFMIS ในส่วนของการเบิกจ่าย ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๕ เป็นต้นไป

292 ๒. หน.จนท.พัสดุ หรือ จนท.พัสดุในหน่วยจัดซื้อส่วนภูมิภาคที่ต้องปฏิบัติงานระบบ e-GP ที่ยังไม่เคยลงทะเบียนในระบบ e-GP ให้เข้าลงทะเบียนเพื่อใช้งานใน ระบบ e-GP ระยะที่ ๒ ที่เว็บไซต์

293

294

295

296

297 ๑. ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน
ใบเสร็จรับเงิน ๑. ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน ๒. วัน เดือน ปี ที่รับเงิน ๓. รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร ๔. จำนวนเงินทั้งตัวเลข ตัวอักษร ๕. ลายมือชื่อผู้รับเงิน ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๔๑

298 การหักภาษี ณ ที่จ่าย การขอเบิกเงินทุกรณี ส่วนราชการมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องหักภาษีใด ๆ ไว้ ณ ที่จ่าย ให้บันทึกภาษีเป็นรายได้แผ่นดินไว้ในคำขอเบิกเงินนั้นด้วย เว้นแต่ได้มีการหักภาษีไว้แล้ว ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๑

299 การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
กรณีโรงเรียนมีความจำเป็นเร่งด่วนได้รับอนุมัติให้ยืมเงิน ของทางราชการไปจัดซื้อจากบุคคล หรือบริษัทห้างร้านใน วงเงินที่ต้องหักภาษีเงินได้ ต้องหักภาษีหรือไม่ ต้องหักภาษี ไม่ต้องหักภาษี ภาษี ณ ที่จ่าย (จ่ายเงินอยู่ที่ไหน) ????

300 หนังสือตอบกรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๐๔/๔๕๗๕ ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๒๔
ตอบข้อหารืออธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นการที่จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา ๕๐ (๔) มาตรา ๖๙ ทวิ และภาษีการค้า ณ ที่จ่าย ตามมาตรา ๗๘ ปัณรส แห่งประมวลรัษฎากร ก็ต่อเมื่อมีการจัดซื้อโดยมหาวิทยาลัยฯ ได้ออกใบสั่งซื้อหรือสั่งจ้างโดยตรงเท่านั้น แต่ในกรณีที่ข้าราชการได้ยืมเงินทดรองของมหาวิทยาลัยไปจ่ายค่าซื้อสินค้าหรือจ่ายค่าจ้าง ณ สถานที่ของผู้ขายหรือผู้รับจ้างไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตราดังกล่าว เพราะยังไม่ถือว่ามหาวิทยาลัยเป็นผู้จ่าย

301 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๘๔๒ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒
หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๘๔๒ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒ ตอบอธิการสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ได้ยืมเงินจากทางราชการไปเพื่อทดรองจ่ายเป็นค่าซื้อ หรือจ้าง ณ สถานที่ของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ดังนั้นเมื่อเป็นกรณีที่หน่วยงานวางฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณเพื่อชดใช้เงินนอกงบประมาณที่เจ้าหน้าที่ได้ยืมเพื่อจ่ายทดรองไป จึงไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ทั้งนี้ตามหนังสือกรมสรรพากรดังกล่าว

302 การขอเบิกเงินในการซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือ เช่าทรัพย์สิน ตามระเบียบ พัสดุฯ
๑. ในกรณีมีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง สัญญาหรือข้อตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแต่ห้าพันบาทขึ้นไป ให้จัดทำหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจ้างเพื่อจองงบประมาณในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงินโดยตรง ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๔

303 ๒. นอกจากรณีตาม ๑ ส่วนราชการไม่ต้องจัดทำหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจ้างในระบบโดยกรมบัญชีกลางจะจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารของส่วนราชการเพื่อให้ส่วนราชการจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ หรือผู้มีสิทธิรับเงินต่อไป หรือหากส่วนราชการต้องการให้จ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการโดยตรงก็ได้ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๒๑ ข้อ ๒๔

304 การซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สิน ให้ส่วนราชการดำเนินการขอเบิกเงินจากคลังโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกินห้าวันทำการนับจากวันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สิน หรือตรวจรับงานถูกต้องแล้ว หรือนับจากวันที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานย่อย ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๒๑ ข้อ ๒๔

305 การขอเบิกเงินของส่วนราชการสำหรับค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริหารไปรษณีย์โทรเลข ค่าบริการสื่อสาร และโทรคมนาคม ให้กรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินโดยตรง ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๕

306 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกเงินจากงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นไปจ่าย ในกรณีมีเหตุจำเป็นไม่สามารถเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นได้ ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีงบประมาณถัดไปได้ แต่ค่าใช้จ่ายนั้นจะต้องไม่เป็นการก่อหนี้ผูกพันเกินงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๗

307 การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
ส่วนราชการใดได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ โดยการซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง หรือสัญญา หรือข้อตกลงและมีวงเงินตั้งแต่ห้าหมื่นบาทขึ้นไป หรือตามที่กระทรวงการคลังกำหนด กรณีที่ไม่สามารถเบิกเงินไปชำระหนี้ได้ทันสิ้นปีงบประมาณให้ถือว่าใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจ้างหรือสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้จัดทำหรือลงไว้ในระบบเป็นการขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีต่อไปได้อีกเป็นเวลาหกเดือนนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๑

308 ในกรณีที่ส่วนราชการไม่ได้ก่อหนี้ผูกพัน แต่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินนั้นต่อไปอีก ให้กระทรวงเจ้าสังกัดขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เมื่อได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังให้ขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีได้ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๒

309 การขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ส่วนราชการต้องดำเนินการก่อนสิ้นปีงบประมาณ โดยปฏิบัติตามวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๒

310 สัญญา ประเภทสัญญา ๑. สัญญาลดรูป ๒. สัญญาชนิดไม่มีรูป 3. สัญญาเต็มรูป

311 ๑๓๙ ๓๔ ๑๓๖ ๑๓๔ สัญญา ๑๓๗ ๑๓๕ ๑๓๘ ๑๔๕

312 ผลของสัญญา หลัก มีผลตั้งแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป
หลัก มีผลตั้งแต่วันลงนามในสัญญาเป็นต้นไป ข้อยกเว้น (กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ว ๓๕๑ ลว. ๙ ก.ย. ๔๘ เป็นการเช่าหรือจ้างต่อเนื่องกับผู้ให้เช่า/ผู้รับจ้าง รายเดิม/รายใหม่ ส่วนราชการรู้ตัวผู้ให้เช่า/ผู้รับจ้าง และผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้เช่าหรือจ้างแล้ว ไม่สามารถลงนามในสัญญาได้ทันในวันที่ ๑ ตุลาคม ของปีงบประมาณใหม่

313 สัญญา ประเภทสัญญา 1. สัญญาลดรูป 2. สัญญาชนิดไม่มีรูป 3. สัญญาเต็มรูป

314 การออกใบสั่งจ้าง (สัญญาลดรูป)
๑. การตกลงราคา ๒. สามารถส่งมอบได้ภายใน ๕ วันทำการ ๓. วิธีกรณีพิเศษ ๔. ซื้อโดยวิธีพิเศษ ข้อ ๒๓ (๑) – (๕) ๕. จ้างโดยวิธีพิเศษ (๑) – (๕) ๖. การเช่า

315 การปิดอากรแสตมป์

316 อากรแสตมป์ เป็นอากรที่เรียกเก็บตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการทำตราสารต่างๆ ตามลักษณะที่ได้กำหนดเอาไว้ในบัญชีอัตราอากรแสตมป์ท้ายประมวลกฎหมายรัษฎากร ความสำคัญของการเสียอากรแสตมป์นั้น มีความสำคัญเป็นอย่างมากในการใช้อ้างเป็นพยานหลักฐานในทางคดี ซึ่งจะต้องมีการติดอากรแสตมป์ตามอัตราที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย ซึ่งเป็นไปตามประมวลรัษฎากร มาตรา ๑๑๘ ที่ได้กำหนดเอาไว้ว่า "ตราสารใด ไม่ปิดอากรแสตมป์บริบูรณ์จะใช้ต้นฉบับ คู่ฉบับ คู่ฉีก หรือสำเนาตราสารนั้นเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งไม่ได้ จนกว่าจะได้เสียอากรโดยปิดแสตมป์ครบจำนวนตามอัตราในบัญชีท้ายหมวดนี้และขีดฆ่าแล้ว แต่ทั้งนี้ไม่เป็นการเสื่อมสิทธิที่จะเรียกเงินเพิ่มอากรตาม มาตรา ๑๑๓ และมาตรา ๑๑๔“

317 ระยะเวลา ให้ผู้รับจ้างชำระอากรเป็นตัวเงินแทนการปิดอากรแสตมป์ภายใน ๑๕ วัน ซึ่งหากล่าช้า ผู้รับจ้างจะต้องเสียเงินเพิ่ม ดังนี้ - กรณีไม่เกิน ๙๐ วัน เสียเพิ่ม ๒ เท่า - กรณีเกิน ๙๐ วัน เสียเพิ่ม ๕ เท่า

318 การแบ่งงวดงานและงวดเงิน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้งานที่จ้างเป็นไปตามลำดับขั้นตอน ตามหลักวิชาการของการก่อสร้าง และการแบ่งจ่ายเงินเมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงานในแต่ละงวด เพื่อให้ผู้รับจ้างเกิดสภาพคล่องทางการเงิน และใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการก่อสร้าง การกำหนดจ่ายเงินเป็นงวดนั้น จึงต้องกำหนดให้สัมพันธ์กันระหว่างเนื้องานกับเนื้อเงิน กรณีที่มีการแบ่งงวดงานและงวดเงินแล้ว โดยหลัก ผู้ว่าจ้างไม่อาจรับมอบงานและจ่ายเงินข้ามงวดได้ เว้นแต่ ตามข้อเท็จจริงของหลักวิชาการของการก่อสร้าง งานที่ส่งมอบนั้น เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องกับงานในงวดก่อนหน้านั้น

319 สัญญาจ้างก่อสร้าง ๑. หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ให้ตรวจสอบกับธนาคาร ๒. กำหนดเวลาแล้วเสร็จ ข้อ ๕ ผู้รับจ้างต้องเริ่มทำงานที่รับจ้างภายในวันที่ …………… และจะต้องทำงานให้แล้วเสร็จภายในวันที่ …………………….. ๓. การรับประกันความรับผิดชอบในความชำรุดบกพร่องของงานจ้าง ๔. การจ้างช่วง ข้อ ๗ ๕. การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ข้อ ๘

320 ๖. ค่าปรับ ตามข้อ ๑๕ “และจะต้องชำระค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานในเมื่อผู้ว่าจ้างต้องจ้างผู้ควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็นจำนวนเงินวันละ …………….บาท” ๗. การขยายเวลาปฏิบัติงานตามสัญญา ตามข้อ ๑๙

321 ๘. ผู้รับจ้างต้องจัดทำและติดตั้งแผ่นป้ายแสดงรายละเอียด
(๑) ชื่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ (ระบุชื่อโรงเรียนและ สพฐ.) สถานที่ติดต่อ และหมายเลขโทรศัพท์ (๒) ประเภท และชนิดของสิ่งก่อสร้าง (๓) ปริมาณงานก่อสร้าง (๔) ชื่อ ที่อยู่ ผู้รับจ้าง พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ (๕) ระยะเวลาเริ่มต้น และระยะเวลาสิ้นสุด (๖) วงเงินค่าก่อสร้าง

322 (๗) ชื่อเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการผู้ควบคุมงาน
พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ (๘) ชื่อวิศวกรของผู้รับจ้าง (๙) ข้อความที่ระบุว่า “กำลังก่อสร้างด้วยเงินภาษีอากรของ ประชาชน”

323 คำพิพากษาศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขแดงที่ ๑๖๑๘/๒๕๔๗
บริษัท เบญจพรก่อสร้างจำกัด ฟ้องส่วนราชการคืนเงินหลักประกันซองล่าช้า เป็นละเมิดอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ต้องชดใช้ค่าเสียหาย

324 หลักประกันซอง หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่จะเข้าเสนอราคากับส่วนราชการนำมาวางในขณะยื่นซองเสนอราคา เพื่อประกันความเสียหายในการผิดเงื่อนไขในการเสนอราคา ใช้เฉพาะวิธีประกวดราคา (สอบราคาใช้หรือไม่)

325 หลักประกันสัญญา หลักประกันที่ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่เป็นคู่สัญญากับ ส่วนราชการนำมาวางขณะทำสัญญา เพื่อประกันความเสียหายจากการผิดเงื่อนไขตามข้อกำหนดในสัญญา ใช้เป็นหลักประกันจนกว่าจะสิ้นสุดข้อผูกพันตามสัญญา

326 หลักประกันซอง/หลักประกันสัญญา
ให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ ๑. เงินสด ๒. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ๓. หนังสือค้ำประกันของธนาคารในประเทศ ๔. หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน ๕. พันธบัตรรัฐบาลไทย

327 กรณีการใช้พันธบัตรเป็นชื่อบุคคล
โดยหลักการ ผู้ทรงพันธบัตรควรเป็นในนามของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วน หรือกิจการร่วมค้า ซึ่งเป็นผู้เสนอราคาหรือคู่สัญญากับ ทางราชการ ในกรณีที่จะนำพันธบัตรที่เป็นชื่อของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ หุ้นส่วน หรือเป็นชื่อบุคคลอื่น และบุคคลนั้นได้มีหนังสือยินยอมให้นำพันธบัตรมาใช้เป็นหลักประกันซอง หลักประกันสัญญา กับส่วนราชการโดยปราศจากเงื่อนไขใดๆ ก็สามารถกระทำได้ โดยต้องไปจดทะเบียน หรือแจ้งการวางเป็นหลักประกันที่ ธปท.

328 กรณีใช้เช็คบริษัทเป็นหลักประกัน
เช็คสั่งจ่ายในนามบริษัท ไม่ใช่หลักประกันตามความหมายของระเบียบฯ กรณีใช้ตัวแลกเงินเป็นหลักประกัน ตั๋วแลกเงิน เป็นตั๋วเงินประเภทหนึ่ง แต่ระเบียบฯ มิได้กำหนดให้ใช้เป็นหลักประกันได้ ดังนั้น ตั๋วแลกเงินจึงไม่สามารถนำมาใช้เป็นหลักประกันได้

329 การนำหลักประกันมากกว่า ๑ อย่างมารวมกันได้หรือไม่
กวพ. วินิจฉัย * ตามระเบียบฯ ข้อ ๑๔๑ กำหนดว่า “หลักประกันซองหรือหลักประกันสัญญาให้ใช้ หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด” เจตนารมณ์ตามระเบียบฯ ให้เลือกหลักประกันอย่างใดก็ได้ ดังนั้น หากใช้หลักประกันตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๑๔๑ รวมกัน ก็ย่อมกระทำได้

330 การนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา
ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) ๐๔๐๘.๔/ว ๑๓๐ ลว ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๙ หลักการ * ผู้เสนอราคานำหลักประกันซองตามระเบียบฯ ข้อ ๑๔๑ (๑) เงินสด และ (๒) เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย เป็นเช็คลงวันที่ที่ใช้เช็คนั้น หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ * ผู้เสนอราคารายนั้นได้รับคัดเลือกเข้าทำสัญญา * ผู้เสนอราคาประสงค์จะนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา

331 การนำหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา (ต่อ)
เงื่อนไข วันทำสัญญา ส่วนราชการต้องจัดทำหลักฐานการคืนหลักประกันซอง และหลักฐานการวางหลักประกันให้เสร็จภายในวันทำสัญญา โดยคู่สัญญาต้องนำหลักประกันซอง (เพิ่ม-ลด) มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญา

332 ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง
มาตรา ๔๗๔ ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง มาตรา๔๗๔ในข้อรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่องนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาปีหนึ่งนับแต่เวลาที่ได้พบเห็นความชำรุดบกพร่อง

333 ๓. ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด
มาตรา ๔๗๓ ผู้ขายย่อมไม่ต้องรับผิดในกรณีดังต่อไปนี้ ๑. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชำรุดบกพร่อง หรือควรจะได้รู้เช่นนั้นหากได้ใช้ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้ ๒. ถ้าความชำรุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน ๓. ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด

334 มาตรา ๖๐๑ ท่านห้ามมิให้ฟ้องผู้รับจ้างเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันการชำรุดบกพร่องได้ปรากฎขึ้น

335 การคืนหลักประกันซอง ให้คืนหลักประกันซองแก่ผู้เสนอราคา หรือผู้ค้ำประกัน ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้พิจารณาในเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ ผู้เสนอราคารายที่คัดเลือกไว้ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดไม่เกิน ๓ ราย ให้คืนได้ต่อเมื่อได้ทำสัญญาหรือข้อตกลง หรือผู้เสนอราคาได้พ้นจากข้อผูกพันแล้ว

336 การคืนหลักประกันสัญญา
ให้คืนหลักประกันสัญญาโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกิน ๑๕ วัน นับแต่วันที่คู่สัญญาพ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาแล้ว หนังสือที่ นร (กวพ) ๑๓๐๕/ว ๘๖๐๘ ลงวันที่ ๕ ต.ค. ๔๔ -ไม่ต้องรอให้มีการร้องขอคืนจากคู่สัญญาก่อน -คู่สัญญาไม่มารับภายในกำหนด ให้ปฏิบัติตามข้อ ๑๔๔ วรรคท้าย พร้อมกับให้มีหนังสือรับรองให้ผู้ค้ำประกันไปด้วยว่า หลักประกันสัญญาดังกล่าว หมดระยะเวลาการค้ำประกันแล้ว

337 วิธีปฏิบัติในการคืนหลักประกันสัญญา
หนังสือที่ นร (กวพ) ๑๐๐๒/ว ๔๒ ลงวันที่ ๑๕ ก.ย. ๒๕๓๒ ๑. ให้หัวหน้าหน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ รับผิดชอบดูแล บำรุงรักษา และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ ๒. ในกรณีที่ปรากฏความชำรุดบกพร่อง ให้ผู้มีหน้าที่ตาม ๑ . รีบ รายงานหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง แก้ไขซ่อมแซมทันที ๓. ก่อนสิ้นสุดระยะเวลาการประกันความชำรุดบกพร่อง >ภายใน ๑๕ วัน สำหรับหลักประกันอายุไม่เกิน ๖ เดือน >ภายใน ๓๐ วัน สำหรับหลักประกันอายุตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป ให้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่อง

338 ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) ค่าเสียหาย
ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) ค่าเสียหาย ค่าปรับ (เบี้ยปรับ) เป็นค่าเสียหายที่คู่สัญญาได้ตกลงกันไว้ล่วงหน้า ไม่ต้องพิสูจน์ความเสียหาย ค่าเสียหาย เป็นสิทธิเรียกร้องของคู่สัญญาเมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นแล้ว ต้องพิสูจน์ความเสียหาย

339 การกำหนดอัตราค่าปรับในสัญญา (ข้อ 134)
กรณีซื้อ /จ้าง  ไม่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน อัตราตายตัว ระหว่างร้อยละ 0.01 – ของราคาพัสดุที่ยังไม่ได้รับมอบ กรณีงานจ้างก่อสร้าง  ที่ต้องการผลสำเร็จของงานพร้อมกัน ค่าปรับรายวัน เป็นจำนวนเงินตายตัว อัตราร้อยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจ้าง แต่ต้องไม่ต่ำกว่าวันละ 100 บาท

340 การปรับ เมื่อครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ
เมื่อครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ เมื่อมีการส่งมอบพัสดุเกินกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ต้องสงวนสิทธิการปรับ การนับวันปรับ นับถัดจากวันครบกำหนดตามสัญญา/ข้อตกลง จนถึงวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบสิ่งของถูกต้องครบถ้วน หรือจนถึงวันที่บอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง (หักด้วยระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจรับใช้ไปในการตรวจรับออกจากจำนวนวันที่ต้องถูกปรับด้วย) สิ่งของประกอบกันเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด สิ่งของรวมติดตั้ง/ทดลอง ให้ปรับตามราคาของทั้งหมด

341 ตัวอย่างการคิดค่าปรับ
กำหนดส่ง 16 มี.ค. 2. ส่ง 12 มี.ค. 1 รับ 20 มี.ค. 1 แจ้งแก้ไข ส่ง 26 มี.ค. 2 รับ 29 มี.ค. 2 ปรับ ลดปรับ

342 ตัวอย่างการคิดค่าปรับ (ต่อ)
ข้อ 71(4) “ถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งถูกต้องตั้งแต่วันที่ได้นำพัสดุมาส่ง” ......ปรับ ? วัน ครบกำหนด 16 มี.ค. ส่งถูกต้อง 26 มี.ค. ตามสัญญา จะต้องถูกปรับ 17 มี.ค มี.ค. = X วัน *กรรมการล่าช้า (เป็นเหตุพิจารณาลดค่าปรับตามระเบียบฯ ข้อ 139) 13 มี.ค. – 20 มี.ค. = Y วัน ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง ถูกปรับ X – Y = ? วัน 10 8 2

343 ปพพ. 193/8 ถ้าวันสุดท้ายของระยะเวลาเป็นวันหยุดทำการตามประกาศเป็นทางการหรือตามประเพณี ให้นับวันที่เริ่มทำการใหม่ต่อจากวันที่หยุดทำการนั้นเป็นวันสุดท้ายของระยะเวลา

344 ปัญหา ๑. สัญญาซื้อขายครบกำหนดวันเสาร์ที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๗ ผู้ขายส่งมอบเมื่อวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๗ ถูกปรับกี่วัน? คำตอบ ไม่ถูกปรับ ๒. สัญญาซื้อขายครบกำหนดวันเสาร์ที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๗ ผู้ขายส่งมอบเมื่อวันศุกร์ที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๗ ถูกปรับกี่วัน? คำตอบ ๔ วัน

345 หนังสือสำนักอัยการจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลงวันที่ ๑๖ กย. ๔๗
การก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบโรงเรียนบ้านไทรตามสัญญาจ้างเลขที่ ๗๙๒/๒๕๒๕ ลงวันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๒๕ กับ หจก.พระแสง ตามข้อเท็จจริงปรากฏว่า ส่วนราชการไม่ได้มีหนังสือให้ผู้รับจ้างชำระค่าปรับรายวันก่อนเลิกสัญญาจ้างจ้าง จึงเป็นการบอกเลิกสัญญาจ้างซึ่งไม่ได้กำหนดให้ผู้ว่าจ้างมีสิทธิเรียกค่าปรับได้ซึ่ง สปช.ขอให้อัยการฟ้องเรียกค่าปรับกับผู้รับจ้าง จำนวน ๙๑๖,๓๒๖ บาท อัยการสูงสุดพิจารณาแล้วชี้ขาดไม่รับว่าต่าง จึงขอส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ คืนมายังท่าน อนึ่งมีความเห็นว่าคดีนี้เจ้าหน้าที่ร่วมทุจริตด้วย โดย คกก.ตรวจการจ้างได้มีหนังสือตรวจรับงานงวดสุดท้ายและรับรองว่างานเสร็จทุกประการ ทั้งที่งานยังไม่เสร็จ แต่ไม่ปรากฏว่ามีการดำเนินการใด ๆ กับเจ้าหน้าที่เล่านั้น จึงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบว่าได้มีการทุจริตในการตรวจรับงานและทำเอกสารการตรวจรับงานที่มีข้อความอันเป็นเท็จหรือไม่ และในกรณีมีเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องคนใดจะต้องรับผิดชอบบ้าน หากตรวจพบว่ามีและเจ้าหน้าที่นั้นยังรับราชการอยู่ หรือพ้นจากราชการแล้ว แต่ยังมีชีวิตอยู่ก็ให้พิจารณาดำเนินการกับเจ้าหน้าที่เหล่านั้นด้วย

346 การคืนหลักประกันสัญญา
ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าหน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ ในกรณีไม่มีผู้ครอบครอง หรือมีหลายหน่วยงานครอบครอง ให้หัวหน้าเจ้าที่พัสดุมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ

347 ระยะเวลา ก่อนสิ้นสุดเวลาการประกันความชำรุดบกพร่องภายใน ๑๕ วัน สำหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันไม่เกิน ๖ เดือนหรือภายใน ๓๐ วันสำหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไปให้ผู้มีมีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ

348 ๒. คู่สัญญาไม่มารับภายในกำหนด ให้ปฏิบัติตามข้อ ๑๔๔ วรรคท้าย พร้อมกับให้มีหนังสือรับรองให้ผู้ค้ำประกันไปด้วยว่า หลักประกันสัญญาดังกล่าว หมดระยะเวลาการค้ำประกันแล้ว ๑. ไม่ต้องรอให้มีการร้องขอคืนจากคู่สัญญาก่อน ลงวันที่ ๕ ต.ค. ๔๔ หนังสือที่ นร(กวพ)๑๓๐๕/ว ๘๖๐๘

349 การปฏิบัติ กรณีปรากฎความชำรุดบกพร่องของสิ่งของ หรืองานจ้างภายในระยะเวลาของการประกันความชำรุดบกพร่องให้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบรายงานผู้บริหาร เพื่อแจ้งผู้ขายหรือ ผู้รับจ้างดำเนินการแก้ไขซ่อมแซมทันที พร้อมแจ้งผู้ค้ำประกัน (ถ้ามี)

350 การตรวจรับพัสดุและการตรวจการจ้าง

351 การตรวจรับพัสดุ เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการ
ตรวจรับสิ่งของให้ถูกต้องครบถ้วนตามสัญญา มติคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ต้องเอกฉันท์ รายงานหัวหน้าส่วนราชการ บางคนไม่ยอมรับ ให้ทำความเห็นแย้ง เสนอ หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าส่วนราชการ สั่งให้รับ ถือว่าถูกต้องครบถ้วน จึงให้รับไว้แล้วมอบให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ออกใบตรวจรับ

352 การตรวจรับพัสดุ สถานที่ตรวจรับ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุ
สถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญา สถานที่อื่นที่ได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการ

353 ตรวจรับเสร็จฝากไว้กับผู้ขายเนื่องจากไม่มีสถานที่จัดเก็บ
ได้ ไม่ได้ - พัสดุของทางราชการอาจเกิดการสูญหาย - ไม่สามารถทำการควบคุมและตรวจสอบพัสดุได้ การฝากพัสดุไว้กับผู้ขาย ไม่เป็นไปตามระเบียบพัสดุเหตุ ผล ๑. หลักการ จนท.พัสดุได้รับมอบพัสดุแล้ว ต้องลงบัญชีหรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ แยกเป็นชนิดและแสดงรายการตาม ตย.ที่ กวพ.กำหนด โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการด้วย ๒. เก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชีหรือทะเบียน - ได้รับคืนไม่ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานการฝาก

354 ผู้ควบคุมงาน ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา ทุกประการ
ตรวจตามแบบรูป รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา ทุกประการ ควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กำหนดทุกวัน จดบันทึกสภาพการปฏิบัติงาน รายงานผลการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างใน 3 วันนับแต่วันส่งงาน สั่งพักงาน แบบรูป รายการละเอียดหรือข้อกำหนดในสัญญาขัดกัน หากไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างหรือไม่ปลอดภัย

355 หลักการควบคุมงาน - ยึดสัญญาในการทำงาน - ประสานและโปร่งใส
- ยึดสัญญาในการทำงาน - ประสานและโปร่งใส - ตรวจสอบได้และเป็นธรรม - งานที่ทำต้องเปิดเผย

356 ผู้ควบคุมงาน คุณสมบัติ - มีความรู้ความชำนาญทางด้านช่าง
- มีคุณวุฒิตามที่ผู้ออกแบบเสนอแนะ โดย ปกติไม่ต่ำกว่าระดับ ปวช. - เป็นข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำ ในสังกัด กรณีส่วนราชการอื่นต้องได้รับความยินยอมจาก ส่วนราชการต้นสังกัด

357 ผู้แต่งตั้ง ผู้บริหารสถานศึกษา/ศูนย์ ถ้าลักษณะงานก่อสร้างมีความจำเป็นต้องใช้ความรู้ความชำนาญหลายด้าน จะแต่งตั้งผู้ควบคุมงานเฉพาะด้านหรือเป็นกลุ่มบุคคลได้

358 อำนาจหน้าที่ 1. ตรวจและควบคุมงานทุกวันให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดไว้ในสัญญา 2. ในกรณีแบบรูปรายการละเอียด หรือข้อกำหนดใน สัญญามีข้อความขัดกัน หรือเป็นที่คาดหมายได้ว่า ถึงแม้ว่างานนั้น จะได้เป็นไปตามแบบรูปรายการ ละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาแต่เมื่อสำเร็จ แล้วจะไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชา ช่างที่ดีหรือไม่ปลอดภัยให้สั่งพักงานนั้นไว้ก่อนแล้ว รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว

359 (3) จดบันทึก อย่างน้อย 2 ฉบับ
- สภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง - เหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน - ผลการปฏิบัติงาน - การหยุดงานและสาเหตุที่มีการหยุดงาน การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและวัสดุที่ใช้ด้วย

360 (4) ในวันกำหนดลงมือทำการของผู้รับจ้างตามสัญญา
และในวันถึงกำหนดส่งมอบงานแต่ละงวดให้ รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างว่าเป็นไป ตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทราบภายใน 3 วันทำการนับแต่วันถึงกำหนดนั้น

361 รายงานการปฏิบัติงานในการควบคุมงานก่อสร้าง
ตัวอย่าง รายงานการปฏิบัติงานในการควบคุมงานก่อสร้าง โครงการ……………..……….…………… สัญญาเลขที่………………………………….… วันเริ่มทำงาน…………………………… วันแล้วเสร็จ………………….………………… วงเงินตามสัญญา…………………………… จำนวนงวด……………..………… งวด ว.ด.ป. งานที่ปฏิบัติ วัสดุที่ใช้ จำนวน คนงาน เหตุการณ์ แวดล้อม หมายเหตุ

362 รายการแก้ไขงานที่แตกต่างจากสัญญา ………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………...……… ลงชื่อ……………………………………………...……… (…………………………………………………) ผู้ควบคุมงาน วัน/เดือน/ปี หมายเหตุ สามารถดัดแปลงใช้ได้หรือเป็นแนวทางได้ตามความเหมาะสม

363 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๔๐๖.๔/ว ๑๘ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑
การเบิกเงินค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๔๐๖.๔/ว ๑๘ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑

364 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจากส่วนราชการเจ้าของงบประมาณงานก่อสร้างให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะกรรมการตรวจการจ้างตามข้อ ๗๒ ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งจากส่วนราชการเจ้าของงบประมาณงานก่อสร้างให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างตามข้อ ๗๓ ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

365 งานก่อสร้าง งานก่อสร้าง สิ่งก่อสร้างของส่วนราชการ ซึ่งเป็นทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน เช่น อาคาร บ้านพัก ถนน เขื่อน สนามกีฬา สนามบิน สะพาน เป็นต้น และให้หมายความรวมถึงงานเคลื่อนย้าย งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงานซ่อมแซมทรัพย์ดังกล่าวด้วย

366 ค่าตอบแทน เงินที่ทางราชการจ่ายเพื่อตอบแทนการปฏิบัติงานให้กับบุคคลภายนอกและข้าราชการที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะกรรมการตรวจการจ้างและหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ทั้งนี้ ผู้ที่เป็นข้าราชการจะต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งซึ่งมาตรฐานกำหนดตำแหน่งกำหนดให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและหรือควบคุมงานก่อสร้างในหน่วยงานที่ตนสังกัดโดยให้พิจารณาดังนี้

367 กรณีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งกำหนดไว้โดยชัดแจ้งให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและหรือควบคุมงานก่อสร้าง หากได้รับแต่งตั้ง จะไม่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์นี้ ๒. กรณีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งมิได้กำหนดไว้ชัดแจ้งให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและหรือควบคุมงานก่อสร้าง แต่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ประจำ จึงถือเป็นงานปกติประจำที่อยู่ในความรับผิดชอบโดยตรงของข้าราชการผู้นั้น เมื่อได้รับการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ ย่อมถือเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติของตำแหน่ง จะไม่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทน

368 ๓. กรณีมาตรฐานกำหนดตำแหน่งมิได้กำหนดไว้ชัดแจ้งให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและหรือควบคุมงานก่อสร้าง และมิได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ตรวจการจ้างและหรือควบคุมงานก่อสร้างเป็นปกติประจำในหน่วยงาน เช่น วิศวกรด้านสำรวจและออกแบบ มิได้กำหนดให้มีหน้าที่ตรวจการจ้างและหรือควบคุมงานก่อสร้าง และหน้าที่ปักปกติประจำในหน่วยงานคือ การสำรวจออกแบบ หากได้รับแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ ย่อมมีสิทธิได้รับค่าตอบแทน

369 หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง
๑ เฉพาะวันที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว จากเงินงบประมาณ งบดำเนินงาน หรืองบรายจ่ายอื่นที่เบิกจ่ายในลักษณะเดียวกัน โดยเบิกจ่ายได้ไม่เกินกำหนดระยะเวลาของสัญญางานก่อสร้าง เฉพาะวันที่ได้มีการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ๒. กรณีได้รับการแต่งตั้งมากกว่าหนึ่งโครงการ หากปฏิบัติหน้าที่ในวันเดียวกันให้เบิกจ่ายค่าตอบแทนสำหรับวันนั้นในอัตราที่สูงกว่าเพียงอัตราเดียว

370 ๓. หากในวันเดียวกันกรรมการตรวจการจ้างและหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างเป็นผู้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนอื่นในลักษณะเดียวกันกับค่าตอบแทนกรรมการตรวจการจ้าง และหรือผู้ควบคุมงาน เช่น เงินค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ จะมีสิทธิเบิกจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์นี้ได้ก็ต่อเมื่องดเบิกจ่ายค่าตอบแทนอื่น

371 ๔. กรณีมีการหยุดงานก่อสร้างในวันใด หากคณะกรรมการตรวจการจ้างและหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างได้เดินทางไปปฏิบัติหน้าที่และไม่ทราบล่วงหน้าว่าได้มีการหยุดงาน หรือทราบล่วงหน้าว่ามีการหยุดงานแต่ต้องเข้าไปปฏิบัติหน้าที่เพื่อติดตามและแก้ไขปัญหาอุปสรรคเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ ให้ถือว่าได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวและให้มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ในวันนั้น

372 ๕. การเบิกจ่ายค่าตอบแทนไม่กระทบถึงสิทธิในการเบิกค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หากได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการชั่วคราวตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ และการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๒๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

373 ๖. วิธีการเบิกจ่ายค่าตอบแทนที่มิได้กำหนดไว้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการโดยอนุโลม และการเบิกจ่ายค่าตอบแทนนอกเหนือหรือแตกตางจากที่กำหนดไว้ในหลักเกณฑ์นี้ ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง ๗. การปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการตรวจการจ้างและหรือผู้ควบคุมงานที่ยังมิได้เบิกจ่ายค่าตอบแทนก่อนวันที่หนังสือกระทรวงการคลังฉบับนี้มีผลใช้บังคับให้ถือปฏิบัติหน้าที่กระทรวงการคลัง ที่ กค ๐๕๐๒/ว ๑๗๒ ลงวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๓๕

374 ค่าตอบแทนคณะกรรมการ/ผู้ควบคุมงาน
คณะกรรมการตรวจการจ้าง ๓๕๐ บาท / คน / วัน ผู้ควบคุมงาน หัวหน้า ๓๕๐บาท / คน / วัน ผู้ควบคุม ๓๐๐บาท / คน / วัน คนนอก เพิ่มหนึ่งเท่า

375 แนวทางการเบิกจ่ายเงินของ สพฐ.
การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง (๑) ให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเบิกในอัตรา ๓๕๐ บาท/คน/งวด (๒) ในการเบิกจ่ายจะต้องไม่เกิน ๕ คน/สัญญา (๓) ต้องเป็นสัญญาจ้างที่มีวงเงินตั้งแต่ ๑ ล้านบาทขึ้นไป การเบิกจ่ายเงินให้ทำเรื่องเบิกเงินภายในวันที่ ๕ ของเดือนถัดไป ยกวันเดือนกันยายน โดยในกรเบิกจ่ายเงินงบประมาณปีไหนให้เบิกในปีงบประมาณนั้น

376 การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนผู้ควบคุมงาน
(๑) ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเบิกเฉพาะวันหยุดราชการ ๑ คน/วัน ในอัตราวันละ ๓๐๐ บาท (๒) ต้องเป็นสัญญาจ้างที่มีวงเงินตั้งแต่ ๑ ล้านบาทขึ้นไป

377 หลักฐานที่ใช้ในการเบิกจ่าย
คณะกรรมการตรวจการจ้าง ๑. สำเนาสัญญาจ้าง ๒. สำเนาคำสั่งแต่งตั้ง ๓. หลักฐานการตรวจการจ้าง ๔. หลักฐานการส่งมอบ ผู้ควบคุมงาน ๒. สำเนาคำสั่งแต่งตั้ง ๓. บันทึกสรุปผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตามระเบียบพัสดุ ฯ ข้อ ๗๓ (๓)

378 การตรวจการจ้าง เป็นหน้าที่คณะกรรมการ
ตรวจงานที่ผู้รับจ้างได้ส่งมอบให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญา หากไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน หรือไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและหรือข้อกำหนดในสัญญา รับไม่ได้

379 การตรวจการจ้าง (ต่อ) หากมีความจำเป็นต้องแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง ตามหลักเกณฑ์ข้อ ๑๓๖ โดยไม่ทำให้ ทางราชการเสียประโยชน์หรือเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ต้องดำเนินการ ก่อนตรวจรับ

380 การตรวจการจ้าง (ต่อ) การตรวจรับที่ถูกต้องและสมบูรณ์.....หัวหน้าส่วนราชการได้รับทราบหรือเห็นชอบแล้ว การตรวจรับที่สมบูรณ์แล้ว .....ยกเลิกไม่ได้

381 การตรวจการจ้าง (ต่อ) การตรวจรับไม่ถูกต้องตามรูปแบบ รายการละเอียด ที่กำหนด ถือว่าไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ส่วนราชการจะต้องรับผิดชอบ หากเป็นการทุจริตจะต้องรับผิดชอบร่วมกันระหว่างส่วนราชการและผู้รับจ้าง

382 ระยะเวลาการตรวจการจ้างงานก่อสร้าง และตรวจรับพัสดุ ( นร ๑๓๐๕/ ว ๕๘๕๕ ลว ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔)

383 การส่งมอบงาน ผู้ควบคุมงาน งานสารบรรณ ผู้ควบคุมงาน ผู้รับจ้าง
การตรวจการจ้าง การส่งมอบงาน ผู้ควบคุมงาน งานสารบรรณ ผู้ควบคุมงาน ผู้รับจ้าง เจ้าหน้าที่พัสดุ

384 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
การนับระยะเวลา ผู้ควบคุมงาน ทุกงวด ๓ วันทำการ ๓วันทำการ งวดงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง งวดสุดท้าย ๕วันทำการ

385 ระยะเวลาการตรวจรับพัสดุ
ตรวจรับในวันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบ และให้ดำเนินการให้เสร็จโดยเร็วที่สุดอย่างช้าไม่เกิน ๕ วันทำการนับแต่วันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบ ยกเว้น การตรวจทดลอง ตรวจสอบในทางเทคนิค ทางวิทยาศาสตร์ ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการพร้อมด้วยเหตุผล ความจำเป็นพร้อมกับสำเนาแจ้งให้คู่สัญญาทราบ ( นร ๑๓๐๕ / ว ๕๘๖๖ ลว ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔)

386 การเปลี่ยนแปลงหลังทำสัญญา
ขอบเขตของการแก้ไขสัญญา - ยังคงสาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงที่มีอยู่เดิม - ดำเนินการก่อนการตรวจรับมอบงาน

387 สาเหตุของการแก้ไข มีความจำเป็น ประโยชน์ของทางราชการ
ไม่ทำให้ทางราชการเสียประโยชน์

388 การตกลงกับผู้ขาย/ผู้รับจ้าง
ต้องตกลงเรื่องเงิน /เวลาพร้อมกันในขณะนั้น ผู้ขอเปลี่ยนแปลง ผู้ขาย/ ผู้รับจ้าง ผู้ซื้อ/ผู้ว่าจ้าง

389 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา ผอ.สพท. /รร. ** หลักการแก้ไขฯ ** การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้

390 คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขแดงที่ ๑๑๙/๒๕๔๗
การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคารของผู้ว่าจ้างซึ่งดำเนินการหลังครบกำหนดเวลาแล้วเสร็จตามสัญญานั้นแม้จะไม่ปรากฏว่ามีข้อกำหนดในสัญญาให้นับวันแล้วเสร็จตามสัญญาเดิม แต่เนื่องจากสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาเดิม ซึ่งในการพิจารณาตรวจรับงาน ผู้ว่าจ้างย่อมต้องพิจารณาจากเงื่อนไขของสัญญาเดิม และสัญญาที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นสาระสำคัญ ดังนั้นเมื่อมีการทำสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมหลังจากวันสิ้นสุดสัญญาเดิมจึงจะถือวันสิ้นสุดอายุสัญญาตามวันสิ้นสุดสัญญาเดิมไม่ได้ ฉะนั้นระยะเวลาตั้งแต่กำหนดเวลาสิ้นสุดตามสัญญาเดิมจนถึงวันที่มีการแก้ไขสัญญา ผู้รับจ้างจึงยังคงสามารถส่งมอบงานตามสัญญาในช่วงเวลานั้นได้ โดยถือว่าวันที่มีการแก้ไขสัญญาเป็นวันสิ้นสุดสัญญาที่แก้ไขเพิ่มเติม ผู้ว่าจ้างจึงมีสิทธิปรับผู้รับจ้างได้ตั้งแต่วันถัดจากวันที่มีการแก้ไขสัญญาจนถึงวันที่มีการส่งมอบงานงวดสุดท้าย การที่ผู้ว่าจ้างปรับผู้รับจ้างโดยนับรวมระยะเวลาตั้งแต่วันถัดจากวันที่ครบกำหนดระยะเวลาตามสัญญาจ้างเดิมจนถึงวันแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาไว้ด้วย จึงเป็นปรับที่ไม่ถูกต้อง ผู้ว่าจ้างจึงต้องคืนเงินค่าปรับส่วนที่หักไว้เกินให้แก่ผู้รับจ้าง รวมทั้งต้องชดใช้ค่าเสียหายเป็นดอกเบี้ยในต้นเงินดังกล่าว

391 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ ๑๓๙)
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ ๑๓๙) อำนาจอนุมัติ ผู้ว่าจ้าง (ผอ.สพท. /รร.) สาเหตุ (๑) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของราชการ (๒) เหตุสุดวิสัย (๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิด

392 (๑) เหตุเกิดจากความผิด หรือความบกพร่องของส่วนราชการ
เหตุที่เกิดจากความผิด หรือความบกพร่องของส่วนราชการ ต้องเป็นเหตุอุปสรรคที่ทำให้ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานจ้างนั้นได้ และไม่ว่าเหตุนั้นจะเป็นผลมาจากส่วนราชการผู้ว่าจ้างโดยตรง หรือมาจากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก็ตาม

393 มาตรา ๘ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
(๒) เหตุสุดวิสัย มาตรา ๘ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เหตุสุดวิสัย หมายถึง “เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี เป็นเหตุที่ไม่อาจป้องกันได้ แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้น จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและภาวะเช่นนั้น”

394 การงดหรือลดค่าปรับให้ผู้รับจ้างในกรณีที่เกิดเหตุสุดวิสัยขึ้นหากเหตุสุดวิสัยนั้นเกิดขึ้นภายหลังจากที่สัญญาจ้างครบกำหนดไปแล้วผู้รับจ้างจะยกเป็นเหตุเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับได้หรือไม่

395 คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุดคดีหมายเลขแดงที่ อ.๑๙๑/๒๕๕๔
๑. เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า สัญญาพิพาทกำหนดเวลาทำงานให้แล้วเสร็จบริบูรณ์ภายในวันที่ ๒๗ กค. ๒๕๔๕ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ (ส่วนราชการ) ได้รับหนังสือจากผู้ฟ้องคดี (หจก. ส.) ลงวันที่ ๒๖ กค. ๔๕ เพื่อขอขยายเวลาทำงานออกไปอีก ๑๐ วันเนืองจากระหว่างวันที่ ๑๕ กค. ๔๕ ถึงวันที่ ๒๔ กค. ๔๕ มีฝนตกทุกวันดินทรุด เครื่องจักรไม่สามารถเข้าทำงานได้ และมีน้ำท่วมเอ่อหนองโบสถ์ โดยผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ (ส่วนราชการ) ได้อนุมัติให้ขยายเวลาทำงานออกไปอีก ๑๐ วัน นับตั้งแต่วันที่ ๒๘ กค. ๔๕ ถึงวันที่ ๖ สค. ๔๕ และคู่สัญญาได้ตกลงทำเอกสารการขยายเวลาแนบท้ายสัญญาจ้างไว้ อันเป็นการขอขยายเวลาการทำงานก่อนครบกำหนดสัญญา ผู้ฟ้องคดีจึงมีสิทธิได้รับการงดหรือลดค่าปรับได้

396 ๒. เมื่อสัญญาพิพาท ต้องครบกำหนดเวลาการทำงานตามสัญญาในวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๕ ซึ่ง ครม.ได้มีมติเห็นชอบให้ส่วนราชการยึดถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกันว่าการงดหรือลดค่าปรับให้ผู้รับจ้างในกรณี ทีเกิดเหตุสุดวิสัยขึ้นจะต้องเป็นเหตุสุดวิสัยที่เกิดขึ้นก่อนวันครบกำหนดทำงานแล้วเสร็จตามสัญญาจ้าง หากเป็นกรณีที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ผู้รับจ้างผิดนัดตามสัญญาจะยกเป็นเหตุเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับไม่ได้ตามนัยหนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) ๑๓๐๔/๒๓๕๘ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๔๐ ซึ่งส่วนราชการผู้มีอำนาจควบคุมกำกับการปฏิบัติราชการของส่วนราชการได้แจ้งเวียนให้ยึดถือปฏิบัติเป็นแนวทางเดียวกัน

397 ๓. การที่ผู้ฟ้องคดีได้ขอหยุดการทำงานชั่วคราวอีก ๒ ครั้ง ตามหนังสือลงวันที่ ๓๐ กย. ๔๕ และวันที่ ๑๒ พย. ๔๕ จึงเป็นการขอขยายเวลาการทำงานภายหลังจากสัญญาได้ครบกำหนดเวลาการทำงานแล้วที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ได้อนุมัติให้ผู้ฟ้องคดีหยุดการทำงานแล้ว ที่ผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ ได้อนุมัติให้ผู้ฟ้องคดีหยุดการทำงานชั่วคราวทั้ง ๒ ครั้งนี้ จึงเป็นการขยายเวลาการทำงานตามสัญญาจ้างโดยมิชอบ และไม่อาจนำมาเป็นเหตุให้ผู้ฟ้องคดีได้รับการพิจารณางดหรือลดค่าปรับตามสัญญาจ้างได้

398 ๑. เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า สัญญาพิพาทกำหนดเวลาทำงานให้แล้วเสร็จบริบูรณ์ภายในวันที่ ๒๗ กค. ๒๕๔๕ และผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๑ (ส่วนราชการ) ได้รับหนังสือจากผู้ฟ้องคดี (หจก. ส.) ลงวันที่ ๒๖ กค. ๔๕ เพื่อขอขยายเวลาทำงานออกไปอีก ๑๐ วันเนืองจากระหว่างวันที่ ๑๕ กค. ๔๕ ถึงวันที่ ๒๔ กค. ๔๕ มีฝนตกทุกวันดินทรุด เครื่องจักรไม่สามารถเข้าทำงานได้ และมีน้ำท่วมเอ่อหนองโบสถ์ โดยผู้ถูกฟ้องคดีที่ ๒ (ส่วนราชการ) ได้อนุมัติให้ขยายเวลาทำงานออกไปอีก ๑๐ วัน นับตั้งแต่วันที่ ๒๘ กค. ๔๕ ถึงวันที่ ๖ สค. ๔๕ และคู่สัญญาได้ตกลงทำเอกสารการขยายเวลาแนบท้ายสัญญาจ้างไว้ อันเป็นการขอขยายเวลาการทำงานก่อนครบกำหนดสัญญา ผู้ฟ้องคดีจึงมีสิทธิได้รับการงดหรือลดค่าปรับได้

399 (๓) เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
ตามมาตรา ๒๐๕ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “ตราบใดการชำระหนี้นั้นยังไม่ได้กระทำลงเพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้นลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่าผิดนัดไม่” พฤติการณ์ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดชอบนั้น จะต้องเป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง และต้องเกิดขึ้นก่อนผิดนัดชำระหนี้ด้วย

400 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ ๑๓๙)
การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลา ทำการตามสัญญา (ข้อ ๑๓๙) วิธีการ - คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการทราบภายใน ๑๕ วัน นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากไม่แจ้งตามที่กำหนด จะยก มากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขยายเวลาใน ภายหลังมิได้ เว้นแต่ - กรณีความผิดความบกพร่องของส่วนราชการ (๑) ซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น - พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง

401 กรณีศึกษา โรงเรียนได้ทำสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ๒๑๖ล. ในวงเงิน ๑๓,๓๑๕,๐๐๐บาท (สิบสามล้านสามแสนหนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) ตามสัญญาจ้างลงวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๓ สิ้นสุดสัญญาวันที่ ๗ เมษายน ๒๕๕๔ กับห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.การก่อสร้าง โดยตามแบบรูปรายการได้กำหนดให้ผู้รับจ้างทำการตอกเสาเข็ม คสล. ยาว ๒๑.๐๐ เมตร แต่จากผลการทดสอบดินของผู้รับจ้างปรากฏว่า สภาพพื้นที่ก่อสร้างจำเป็นต้องตอกเสาเข็มยาว ๒๖.๐๐ เมตร สภาพดินจึงจะสามารถรับน้ำหนักบรรทุกปลอดภัยได้ตามที่แบบรูปรายการกำหนดผู้รับจ้างจึงได้มีหนังสือลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ แจ้งโรงเรียน (ลงรับตามระเบียบงานสารบรรณในวันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ ) โดยจัดส่งผลการทดสอบดินดังกล่าวและขอเงินเพิ่ม ๑๒๐,๐๐๐ บาท พร้อมทั้งขอเวลากรณีการตอกเสาเข็มยาวกว่าที่สัญญากำหนดจำนวน ๖๐ วัน โรงเรียนได้มีหนังสือส่งผลดังกล่าวตามลำดับเพื่อให้วิศวกรโยธาพิจารณา ซึ่งวิศวกรโยธาได้พิจารณาแล้วให้เพิ่มเงินจำนวน ๑๑๑,๓๖๐ บาท (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นหนึ่งพันสามร้อยหกสิบบาทถ้วน) และเวลาจำนวน ๔๕ วัน โรงเรียนจึงได้มีหนังสือลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๓ แจ้งผู้รับจ้างทราบผลตามผลการพิจารณาของวิศวกรโยธา (ซึ่งในวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๓ผู้รับจ้างได้เข้าไปในโรงเรียน โรงเรียนจึงได้ให้ผู้รับจ้างเซ็นรับหนังสือดังกล่าว) ต่อมาผู้รับจ้างได้มีหนังสือลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๓ ยินดีปฏิบัติตามผลการพิจารณาของวิศวกรโยธาทุกประการ พร้อมทั้งขอขยายเวลาทำการตามสัญญาเนื่องจากต้องรอผลการพิจารณาของโรงเรียนเนื่องจากไม่สามารถปฏิบัติงานได้อีกจำนวน ๓๐ วัน

402 ประเด็นวิเคราะห์ กรณีดังกล่าว ในฐานะเจ้าหน้าที่การเงิน และเจ้าหน้าที่พัสดุของโรงเรียน ซึ่งรับผิดชอบเกี่ยวกับการรับรองการเบิกจ่ายเงินและงานพัสดุ ท่านจะพิจารณาจากกรณีดังกล่าวอย่างไรและมีเหตุผลอย่างไรจากหนังสือของผู้รับจ้างลงวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ และวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๓โดยให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

403 บทสรุป ระเบียบพัสดุ ฯ ที่ใช้ ข้อ ๑๓๖ และ ข้อ ๑๓๙
ระเบียบพัสดุ ฯ ที่ใช้ ข้อ ๑๓๖ และ ข้อ ๑๓๙ ข้อ ๑๓๖ เพิ่มงานเพิ่มเวลา จำนวน ๔๕ วัน ข้อ ๑๓๙ ขยายเวลาเนื่องจากรอผลการพิจารณาตั้งแต่วันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เป็นเวลา ๓๒ วัน สรุปเพิ่มงานเพิ่มเวลา และขยายเวลาจำนวน ๗๕ วัน

404 การจ่ายเงินก่อนมีการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงาน ว 106 ลว 20 ก. ค
การจ่ายเงินก่อนมีการตรวจรับทรัพย์สินหรือตรวจรับงาน ว 106 ลว 20 ก.ค.2548 และ ว 401 ลว 10 ต.ค. 2548 ส่งมอบงานตามงวด ขอรับเงินก่อนมีการตรวจรับ เบิกจ่ายไปก่อนโดยยังไม่ต้องตรวจรับ จ่ายใน 3 วัน คู่สัญญา กรอกข้อความและลงลายมือชื่อในแบบสัญญา มีหนังสือค้ำประกันของธนาคารในประเทศ เมื่อรับงานถูกต้องแล้ว คืนหนังสือค้ำประกัน

405 ๑. ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน
ใบเสร็จรับเงิน ๑. ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน ๒. วัน เดือน ปี ที่รับเงิน ๓. รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร ๔. จำนวนเงินทั้งตัวเลข ตัวอักษร ๕. ลายมือชื่อผู้รับเงิน ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๔๑

406 การหักภาษี ณ ที่จ่าย การขอเบิกเงินทุกรณี ส่วนราชการมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องหักภาษีใด ๆ ไว้ ณ ที่จ่าย ให้บันทึกภาษีเป็นรายได้แผ่นดินไว้ในคำขอเบิกเงินนั้นด้วย เว้นแต่ได้มีการหักภาษีไว้แล้ว ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๑

407 การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
กรณีโรงเรียนมีความจำเป็นเร่งด่วนได้รับอนุมัติให้ยืมเงิน ของทางราชการไปจัดซื้อจากบุคคล หรือบริษัทห้างร้านใน วงเงินที่ต้องหักภาษีเงินได้ ต้องหักภาษีหรือไม่ ต้องหักภาษี ไม่ต้องหักภาษี ภาษี ณ ที่จ่าย (จ่ายเงินอยู่ที่ไหน) ????

408 เกณฑ์การหักภาษีหัก ณ ที่จ่าย
๑. การซื้อ/จ้าง บุคคลธรรมดา ตั้งแต่ ๑๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป หักร้อยละ ๑ ของมูลค่าสินค้า ก่อน บวกภาษีมูลค่าเพิ่ม ๒. การซื้อ/จ้าง นิติบุคคล ตั้งแต่ ๕๐๐ บาทขึ้นไป หักร้อยละ ๑ ของมูลค่าสินค้า ก่อน บวกภาษีมูลค่าเพิ่ม

409 หนังสือตอบกรมสรรพากร ที่ กค ๐๘๐๔/๔๕๗๕ ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๒๔
ตอบข้อหารืออธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่นการที่จะต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา ๕๐ (๔) มาตรา ๖๙ ทวิ และภาษีการค้า ณ ที่จ่าย ตามมาตรา ๗๘ ปัณรส แห่งประมวลรัษฎากร ก็ต่อเมื่อมีการจัดซื้อโดยมหาวิทยาลัยฯ ได้ออกใบสั่งซื้อหรือสั่งจ้างโดยตรงเท่านั้น แต่ในกรณีที่ข้าราชการได้ยืมเงินทดรองของมหาวิทยาลัยไปจ่ายค่าซื้อสินค้าหรือจ่ายค่าจ้าง ณ สถานที่ของผู้ขายหรือผู้รับจ้างไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตราดังกล่าว เพราะยังไม่ถือว่ามหาวิทยาลัยเป็นผู้จ่าย

410 หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๘๔๒ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒
หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๕๑๔/๒๘๔๒ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๓๒ ตอบอธิการสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ได้ยืมเงินจากทางราชการไปเพื่อทดรองจ่ายเป็นค่าซื้อ หรือจ้าง ณ สถานที่ของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ดังนั้นเมื่อเป็นกรณีที่หน่วยงานวางฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณเพื่อชดใช้เงินนอกงบประมาณที่เจ้าหน้าที่ได้ยืมเพื่อจ่ายทดรองไป จึงไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ทั้งนี้ตามหนังสือกรมสรรพากรดังกล่าว

411 การขอเบิกเงินในการซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือ เช่าทรัพย์สิน ตามระเบียบ พัสดุฯ
๑. ในกรณีมีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง สัญญาหรือข้อตกลง ซึ่งมีวงเงินตั้งแต่ห้าพันบาทขึ้นไป ให้จัดทำหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจ้างเพื่อจองงบประมาณในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงินโดยตรง ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๔

412 ๒. นอกจากรณีตาม ๑ ส่วนราชการไม่ต้องจัดทำหรือลงใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจ้างในระบบโดยกรมบัญชีกลางจะจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารของส่วนราชการเพื่อให้ส่วนราชการจ่ายเงินให้เจ้าหน้าที่ หรือผู้มีสิทธิรับเงินต่อไป หรือหากส่วนราชการต้องการให้จ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหนี้ หรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการโดยตรงก็ได้ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๒๑ ข้อ ๒๔

413 การซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สิน ให้ส่วนราชการดำเนินการขอเบิกเงินจากคลังโดยเร็ว อย่างช้าไม่เกินห้าวันทำการนับจากวันที่ได้ตรวจรับทรัพย์สิน หรือตรวจรับงานถูกต้องแล้ว หรือนับจากวันที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานย่อย ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๒๑ ข้อ ๒๔

414 การขอเบิกเงินของส่วนราชการสำหรับค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริหารไปรษณีย์โทรเลข ค่าบริการสื่อสาร และโทรคมนาคม ให้กรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินโดยตรง ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒๕

415 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกเงินจากงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นไปจ่าย ในกรณีมีเหตุจำเป็นไม่สามารถเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นได้ ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีงบประมาณถัดไปได้ แต่ค่าใช้จ่ายนั้นจะต้องไม่เป็นการก่อหนี้ผูกพันเกินงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับอนุมัติ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๗

416 การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
ส่วนราชการใดได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ โดยการซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มีใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง หรือสัญญา หรือข้อตกลงและมีวงเงินตั้งแต่ห้าหมื่นบาทขึ้นไป หรือตามที่กระทรวงการคลังกำหนด กรณีที่ไม่สามารถเบิกเงินไปชำระหนี้ได้ทันสิ้นปีงบประมาณให้ถือว่าใบสั่งซื้อหรือใบสั่งจ้างหรือสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้จัดทำหรือลงไว้ในระบบเป็นการขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีต่อไปได้อีกเป็นเวลาหกเดือนนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๑

417 ในกรณีที่ส่วนราชการไม่ได้ก่อหนี้ผูกพัน แต่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินนั้นต่อไปอีก ให้กระทรวงเจ้าสังกัดขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เมื่อได้รับอนุมัติจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังให้ขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีได้ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๒

418 การขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ส่วนราชการต้องดำเนินการก่อนสิ้นปีงบประมาณ โดยปฏิบัติตามวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๑๐๒


ดาวน์โหลด ppt การบริหารจัดการ ในสถานศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google