งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น
2012/04/24, 26 โครงการความร่วมมือทางเทคโนโลยีของ JICA “การช่วยเหลือการวางแผนงานสร้าง สถานที่ฝังกลบขยะในประเทศไทย” Lecture 1st Fukuoka side dispatching จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น

2 (3) ประเภทของสถานกำจัดขยะขั้นสุดท้ายของประเทศญี่ปุ่น
2012/04/24, 26 3) แยกประเภทตามโครงสร้างของหลุมฝังกลบ (Classification according to the landfill type) สามารถแบ่งประเภทของหลุมฝังกลบโดยดูจากสภาพหรือปริมาณออกซิเจนในหลุม ประเภทของหลุมฝังกลบ (Landfill type) หลุมฝังกลบระบบไม่ใช้อากาศ หรือ Anaerobic landfill ทำให้สามารถได้ก๊าซมีเทน ใช้มากในประเทศแถบยุโรปและอเมริกา ปิดไม่ให้อากาศไหลเข้าสู่ภายในหลุม ภายในหลุมแบคทีเรียจะย่อยสลายขยะโดยไม่ใช้ออกซิเจน หลุมฝังกลบระบบใช้อากาศ(ออกซิเจน ) หรือ Aerobic landfill type เพิ่มการไหลเวียนของอากาศใช้พัดลม เพื่อป้อนออกซิเจนเข้าให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ให้แบคทีเรียใช้ย่อยสลายขยะ หลุมฝังกลบแบบกึ่งออกซิเจน หรือ Semi-aerobic landfill ญี่ปุ่นทำหลุมบนดินแบบนี้เป็นส่วนใหญ่ อาศัยหลักธรรมชาติการไหลของอากาศเพื่อป้อนอากาศเข้าสู่ภายในหลุม

3 (4) Semi-aerobic landfill method (Fukuoka method)
Decomposition of wastes Fermentation heat Temperature difference between internal and external landfill Inflow of air CO2 O2 Air Sealing works Leachate retention reservoir Solid wastes retaining structure Landfill Fermentation heat 50 ~ 70° CH4 Gas collection equipment Airflow zone Leachate flow zone collection pipe Cobble

4 (5) วิธี(ขั้นตอน)การสำรวจพื้นที่สถานที่ฝังกลมเพื่อให้ได้ที่ที่เหมาะสม
1)รายละเอียดขั้นตอนต่างๆ <กำหนดระยะเวลาและรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่ที่จะใช้ทำหลุงฝังกลบ(ตำแหน่งที่ตั้งหลุมและลุ่มน้ำแอ่งน้ำ เป็นต้น)>         ↓ ①สำรวจจากเอกสารหรือข้อมูลที่มีอยู่ (Desk research) ②ลงสำรวจพื้นที่จริง(สำรวจผิวดิน) ③ตรวจวัดพื้นที่และสำรวจผิวดิน(สำรวจพื้นที่จริงอย่างละเอียด)          ↓ ④สำรวจพื้นที่จริง(เจาะสำรวจดินคร่าวๆ (Rough boring investigation) ตรวจวัดตรวจสอบทางธรณีฟิสิกส์)          ↓ ⑤สำรวจพื้นที่จริงอย่างละเอียด(เป็นการสำรวจเมื่อมีความจำเป็นหาข้อมูลเพิ่มหรือปรับแก้ไขปัญหา) ⑥ตรวจสอบการสำรวจ( monitoring )

5 Results of brief site investigation
No clear site boundary (埋立境界)  Appropriate waste management is required

6 Results of brief site investigation
Waste plaster board (廃石膏ボード) Risk of the generation of hydrogen sulfide (H2S)

7 Results of brief site investigation
Waste electronics (廃電子製品) Contains heavy metals

8 Results of brief site investigation
Puddle (水溜まり)

9 แผนภาพแสดงระบบน้ำไหลเวียนของสถานกำจัดขยะขั้นสุดท้าย
กรณีฝนตกแล้วบำบัดน้ำชะไม่ทัน ระดับน้ำเพิ่มขึ้น H2S generation ระบบบำบัดน้ำ (ความสามารถบำบัดคงที่) ภายในจะย่อยสลายโดยไม่ใช้อากาศ ปั๊มน้ำขึ้นในปริมาณคงที่ ปิดวาล์ว แรงดันน้ำเพิ่มขี้น น้ำสกปรกล้นออกมา ระดับน้ำเพิ่มขี้น น้ำชะรั้วไหลจากตรงจุดที่ชะรุด ความเข้นข้นของเกลือ อนินทรีย์และอื่นๆเพิ่มขึ้น


ดาวน์โหลด ppt จังหวัดฟุกุโอกะ ศูนย์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเทศญี่ปุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google