งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา
Time and Motion Study การบริหารการผลิต วิชาบังคับก่อน Rujipas potongsangarun

2 คะแนนแบบฝึกหัด ถาม-ตอบ 10 คะแนน ความคิดสร้างสรรค์ 30 คะแนน
คะแนนแบบฝึกหัด ถาม-ตอบ 10 คะแนน ความคิดสร้างสรรค์ คะแนน คะแนนสอบกลางภาค(1-6) คะแนน คะแนนสอบปลายภาค(7-13) 30 คะแนน รวม 100 คะแนน Rujipas potongsangarun

3 บทที่ 2 หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน
สารบัญเนื้อเรื่อง บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน บทที่ 3 การศึกษาวิธีการทำงาน บทที่ 4 องค์ประกอบสำหรับการศึกษาการทำงาน บทที่ 5 แผนภูมิและไดอะแกรม Rujipas potongsangarun

4 บทที่ 6 การศึกษาการเคลื่อนที่ บทที่ 7 การวัดผลงาน บทที่ 8 การศึกษาเวลา
สารบัญเนื้อเรื่อง บทที่ 6 การศึกษาการเคลื่อนที่ บทที่ 7 การวัดผลงาน บทที่ 8 การศึกษาเวลา บทที่ 9 การวิเคราะห์งาน บทที่ 10 การสุ่มงาน Rujipas potongsangarun

5 บทที่ 11 การวัดผลงานโดยใช้ระบบมาตรฐาน
สารบัญเนื้อเรื่อง บทที่ 11 การวัดผลงานโดยใช้ระบบมาตรฐาน บทที่ 12 การวัดผลงานโดยใช้ระบบเวลาพรีดีเทอร์มีน บทที่ 13 กรณีศึกษา Rujipas potongsangarun

6 การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา
ศึกษาถึงการวิเคราะห์วิธีทำงาน การศึกษาการเคลื่อนไหว การกำหนดมาตรฐาน เพื่อใช้ในกระบวนการออกแบบ วิเคราะห์ปัญหา การหาทางเลือก การประเมินทางเลือกที่ดีที่สุด การศึกษาเวลาต่างๆ การหาเวลามาตรฐาน และการประยุกต์มาใช้กับระบบการจ่ายเงินรางวัล Rujipas potongsangarun

7 ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม ต้นศตวรรษที่ 20
บทที่ 1 ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม ต้นศตวรรษที่ 20 ระบบการผลิตไม่ซับซ้อนมาก องค์ประกอบการผลิต ได้แก่ แรงงานและวัสดุที่ได้มาจากธรรมชาติ เท่านั้น ราคาที่ดิน และ ค่าแรงงานมีราคาถูก ปัญหาเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายคลังสินค้า ค่าซ่อมบำรุงเครื่องจักร ค่าใช้จ่ายพลังงานและค่าโสหุ้ยอื่นๆน้อยมาก Rujipas potongsangarun

8 ประชากรเพิ่มขึ้น ความต้องการสินค้ามากขึ้น
การเพิ่มผลผลิตและ การแข่งขัน มากขึ้น การปฏิวัติอุตสาหกรรม ต้นทุนการผลิต การเพิ่มกำไรและการอยู่รอด ปัญหา Rujipas potongsangarun

9 เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
การศึกษาการทำงาน การศึกษาการทำงาน คืออะไร ? Work Study หรือ วิธีการทำงาน (method study) หรือ การวัดผลงาน (work measurement) :เป็นการศึกษาอย่างมีระเบียบถึงการทำงานของคน และพิจารณาองค์ประกอบต่างๆซึ่งจะมีผลต่อประสิทธิภาพของการทำงานเพื่อการปรับปรุงการทำงานนั้นๆให้ดีขึ้นรวมทั้งเป็นเครื่องมือในการพัฒนาส่งเสริมจูงใจบุคลากรนำไปสู่การเพิ่มผลผลิต Rujipas potongsangarun

10 การศึกษาการเคลื่อนที่และการศึกษาเวลา Motion and Time Study พัฒนาจาก
พัฒนาต่อเนื่องจาก การศึกษาการทำงาน การศึกษาการเคลื่อนที่และการศึกษาเวลา Motion and Time Study พัฒนาจาก แนวความคิด Federick W. Taylor Frank B.Gillbreth บิดาแห่งการศึกษาเวลา บิดาแห่งการศึกษาการเคลื่อนที่ Rujipas potongsangarun

11 Frank B. Gilbreth และ Lillian M. Gilbreth
ศึกษาวิจัย การศึกษาการเคลื่อนที่ของร่างกายเพื่อการทำงานที่ดีขึ้น ความเมื่อยล้าน้อยลง ความเครียดในการทำงานลดลง เดิม ศึกษาการทำงานของร่างกายประกอบร่วมกับสภาพแวดล้อมการทำงานซึ่งเกี่ยวข้องกับการทำงานของคนโดยเฉพาะ การศึกษาการเคลื่อนที่ ขยายขอบข่าย

12 การศึกษาการเคลื่อนที่และการศึกษาเวลา
ขยายขอบข่าย การศึกษาการเคลื่อนที่และการศึกษาเวลา ต่อมา เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ นำมาใช้ใน การผลิต ขอบข่ายการศึกษาการเคลื่อนที่ การศึกษาวิธี ครอบคลุมกิจกรรมของการศึกษาการเคลื่อนที่ ขยาย

13 การศึกษาวิธี เป็นการศึกษาวิธีการทำงานที่มีอยู่เดิมและใช้หลักการปรับปรุงพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ที่ดีกว่าเดิม Rujipas potongsangarun

14 พัฒนาวิธีการทำงานใหม่
การศึกษาวิธี ผลผลิตสูงขึ้น ความสูญเสียน้อยลงและต้นทุนการผลิตต่ำลง พัฒนาวิธีการทำงานใหม่ การศึกษาเวลา เป็นกระบวนการวัดเวลาเพื่อกำหนดเวลามาตรฐานและเก็บข้อมูลเวลาทำงาน พัฒนา การวัดผลงาน ครอบคลุมกิจกรรมของการศึกษาเวลา การสุ่มงาน การใช้เวลามาตรฐาน และการใช้ข้อมูลมาตรฐานประกอบการวัดผลงาน Work Measurement Rujipas potongsangarun

15 พัฒนาวิธีการทำงานที่ดีกว่า กำหนดเวลามาตรฐาน
การศึกษาการทำงาน (Work Study) การศึกษาวิธี (Method Study) การวัดผลงาน (Work Measurement) พัฒนาวิธีการทำงานที่ดีกว่า กำหนดเวลามาตรฐาน พัฒนามาตรฐานวิธีการทำงาน กำหนดแผนงานส่งเสริมเงินจูงใจ แก้ไขโดย ฝึกอบรมวิธีการทำงาน แก้ไขโดย การเพิ่มผลผลิต Rujipas potongsangarun

16 การศึกษาการทำงานเป็นเครื่องมือเพื่อการเพิ่มผลผลิตโดยตรง
วิธีการต่างๆ การเพิ่มผลผลิต โดยไม่คำนึงถึงต้นทุนที่สูงขึ้น ภายใต้ทรัพยากรเท่าเดิมไม่เพิ่มต้นทุน ได้แก่ การลงทุนด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์โรงงานที่ทันสมัย อัตราการจ้างแรงงานน้อยลง การศึกษาการทำงาน ต้นทุนสูง Rujipas potongsangarun

17 ทำไมการศึกษาการทำงานจึงมีคุณค่าพอ?
(1)การศึกษาการทำงานเป็นเครื่องมือช่วยในการเพิ่มผลผลิตในโรงงานโดยการจัดระบบงานให้ใหม่ (2)การศึกษาการทำงานมีลักษณะเป็นระบบงานมีผลทำให้ไม่มองข้ามองค์ประกอบ(การวิเคราะห์ระบบงานเดิมหรือการพัฒนางานใหม่รวมถึงข้อเท็จจริงต่างๆในระบบงานนั้นๆ)ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน (3)การศึกษาการทำงานเป็นเครื่องมือในการกำหนดมาตรฐานของงานซึ่งจะใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการผลิต Rujipas potongsangarun

18 ทำไมการศึกษาการทำงานจึงมีคุณค่าพอ?
(4)การศึกษาการทำงานช่วยให้เกิดการประหยัดตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงช่วงระยะเวลาการทำงานที่ได้ปรับปรุงแล้ว (5)การศึกษาการทำงานใช้ได้ในทุกโอกาสและสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นงานที่ทำด้วยมือหรือเครื่องจักร ทำในโรงงานหรือสำนักงาน (6)การศึกษาการทำงานเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจปัญหาของงานอย่างดีที่สุดจึงใช้เป็นอาวุธในการพิชิตงานไร้ประสิทธิภาพและความบกพร่องในหน่วยงานต่างๆได้ Rujipas potongsangarun

19 ความสัมพันธ์และวิธีการของการศึกษาการทำงาน
การศึกษาวิธีการทำงาน : การบันทึกและวิเคราะห์วิธีการทำงาน เครื่องมือ เพื่อการพิจารณาและประยุกต์ใช้งานง่ายขึ้นและประหยัดค่าใช้จ่าย การวัดผลงาน :เป็นการประยุกต์วิธีการที่ใช้สร้างเวลาทำงานให้กับคนงานในการทำงานที่กำหนดให้ในระดับการปฏิบัติงานที่ตั้งไว้ Rujipas potongsangarun

20 การศึกษาวิธีการทำงาน การลดส่วนของงาน เกี่ยวข้อง
การลดเวลาไร้ประสิทธิภาพ การวัดผลงาน การศึกษาวิธีการทำงาน การกำหนดเวลามาตรฐาน Rujipas potongsangarun

21 การศึกษาการทำงาน การศึกษาการทำงาน
การศึกษาการทำงาน ทำให้งานธรรมดาขึ้น พัฒนาวิธีการที่ประหยัดกว่า การศึกษาการทำงาน การวัดผลงาน กำหนดเวลาทำงานของงาน อัตราผลผลิตสูงขึ้น Rujipas potongsangarun

22 ขั้นตอนของการศึกษาการทำงาน
1.การเลือกงาน 2.การบันทึกงานและสังเกตการณ์โดยตรง 3.การวิเคราะห์งาน 4.การปรับปรุงงาน 5.การเปรียบเทียบประเมินผลการปรับปรุงงาน 6.การประยุกต์ใช้การศึกษาการทำงาน Rujipas potongsangarun

23 ประโยชน์ของการศึกษาการทำงาน
ส่วนของการศึกษาวิธีการทำงาน 1.เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตและวิธีการทำงาน 2.เพื่อเพิ่มความสะดวกและง่ายต่อการทำงานรวมทั้งลดความเมื่อยล้าในการทำงาน 3.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้วัสดุ แรงงาน เครื่องจักร ที่ดิน เงินทุน พลังงานและข้อสนเทศ Rujipas potongsangarun

24 4.เพื่อปรับปรุงสถานที่ทำงานและสภาพแวดล้อมการทำงาน
5.เพื่อกำหนดหาวิธีการเคลื่อนย้ายวัสดุในกระบวนการผลิตให้เหมาะสมและต้นทุนต่ำ 6.เพื่อกำหนดมาตรฐานวิธีการทำงานที่ใช้ในการพัฒนาบุคลากร ส่วนงานของการวัดผลงาน 1.เพื่อกำหนดเวลามาตรฐานของการทำงาน 2.เพื่อวัดผลงานเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการทำงานของแต่ละวิธี Rujipas potongsangarun

25 3.เพื่อการจัดสมดุลในสายงานผลิต
4.เพื่อกำหนดจำนวนบุคคลให้เหมาะสมกับเครื่องจักร 5.เพื่อกำหนดเวลาส่งมอบผลผลิตให้ลูกค้า 6.เพื่อควบคุมต้นทุนการผลิตและใช้ในการกำหนดต้นทุนมาตรฐาน 7.เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดแผนงานจ่ายเงินจูงใจ Rujipas potongsangarun

26 ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลิตภาพ
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลิตภาพ เครื่องมือในการวัดผลการดำเนินงาน การบริหารงานอุตสาหกรรม ประสิทธิภาพ(Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) ผลิตภาพ(Productivity) Rujipas potongsangarun

27 ประสิทธิภาพ(Efficiency)
เกณฑ์ในการออกแบบโดยให้ความสูญเสียของทรัพยากรที่เข้าไปในระบบมีความสูญเสียน้อยที่สุด เช่น การออกแบบเครื่องเสียง เสียงที่ออกมาจากเครื่องเสียงต้องเหมือนกับเสียงธรรมชาติที่เข้าไปในระบบมากที่สุด ในการเลือกระบบงานที่จะใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพจึงเป็นเกณฑ์ที่สำคัญที่สุด Efficiency = Output / Input **ค่าที่ใช้วัดประสิทธิภาพมีค่าต่ำกว่า 100% เสมอ Rujipas potongsangarun

28 ประสิทธิผล (Effectiveness)
มุ่งเน้นผลประโยชน์สูงสุดในการบรรลุเป้าหมาย ผลิตภาพ(Productivity) เป็นดัชนีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตต่อทรัพยากรที่ใช้ในการก่อเกิดผลผลิตนั้น Productivity Output / Input = Rujipas potongsangarun

29 ผลิตภาพ(Productivity)
3 ประเภท ผลิตภาพ(Productivity) ก.ผลิตภัณฑ์เฉพาะส่วน : อัตราส่วนของผลผลิตต่อทรัพยากรที่ใช้ในแต่ละชนิด เช่น ผลิตภาพแรงงาน ผลิตภาพวัตถุดิบ ผลิตภาพ เงินลงทุน ผลิตภาพพลังงาน และผลิตภาพค่าใช้จ่าย ข.ผลิตภาพองค์ประกอบรวม : อัตราส่วนผลผลิตสูงสุทธิต่อผลรวมของทรัพยากรด้านเงินทุนและแรงงาน(ผลผลิตสุทธิ =ผลผลิตรวม-ค่าวัสดุและค่าบริการที่ต้องซื้อ) ค.ผลิตภาพรวม:อัตราส่วนของผลผลิตต่อทรัพยากรที่ใช้ทั้งสิ้น Rujipas potongsangarun

30 การเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรม
องค์ประกอบ มีผลต่อ 1.การลงทุน 2.อัตราส่วนเงินทุน/แรงงาน 3.การวิจัยและพัฒนา 4.การใช้เงินทุน 5.กฎระเบียบแห่งรัฐ 6.อายุของโรงงานและเครื่องจักร 7.ต้นทุนพลังงาน 8.การผสมผสานของแรงงาน 9.จริยธรรมของงาน 10.ความหวั่นเกรงของแรงงานต่อการตกงาน 11.อิทธิพลของสมาพันธ์แรงงาน 12.การบริหารงาน Rujipas potongsangarun

31 5 แนวทาง อัตราผลิตภาพ = ผลผลิต(Output)/ทรัพยากรที่ใช้(Input)
อัตราผลิตภาพที่สูงขึ้น การเพิ่มผลผลิต 5 แนวทาง 1)ผลผลิตเพิ่ม ทรัพยากรที่ใช้เท่าเดิม (Output เพิ่ม Input เท่าเดิม) 2)ผลผลิตเพิ่ม ขณะที่ใช้ทรัพยากรลดลง (Output เพิ่ม Input ลดลง) Rujipas potongsangarun

32 อัตราผลิตภาพ = ผลผลิต(Output)/ทรัพยากรที่ใช้(Input)
Rujipas potongsangarun

33 กระบวนการเพิ่มผลผลิต กระบวนการที่ต่อเนื่อง
วงจรของการเพิ่มผลผลิต โดยใช้ ก.การวัดผลงาน(Measurement) ข.การประเมินผลงาน(Evaluation) ค.การวางแผน(Planning) ง.การปรับปรุงเพิ่มผลผลิต(Productivity) ดัชนีผลิตภาพ Rujipas potongsangarun

34 การปรับปรุงเพิ่มผลผลิต
วงจรเพิ่มผลผลิต เพื่อให้สามารถบรรลุระดับดัชนีผลิตภาพเป้าหมายใหม่ การปรับปรุงเพิ่มผลผลิต การวางแผน ค่าระดับดัชนีผลิตภาพใหม่ กำหนด ดัชนีผลิตภาพเปรียบเทียบกับระดับผลิตภาพเป้าหมาย การประเมินผลงาน การวัดผลงาน ดัชนีผลิตภาพ Rujipas potongsangarun

35 ต้นทุนและความสูญเสีย
ต้นทุน (cost): ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปสำหรับทรัพยากรทางการผลิต เพื่อก่อให้เกิดผลผลิต ได้แก่ ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ค่าโสหุ้ย ได้แก่ ค่าวัสดุทางอ้อม ค่าแรงงานทางอ้อม ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้สอยอื่นๆ ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรและทรัพย์สินอื่นๆ ค่าใช้จ่ายสวัสดิการและค่าขนส่ง ข้อสังเกต ต้นทุน คือ ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปแล้วเกิดผลตอบแทนที่สูงกว่า ความสูญเสีย คือ ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปแล้วเกิดผลตอบแทนที่ต่ำกว่า Rujipas potongsangarun

36 มาตรฐานเวลาและเวลาทำงาน
มาตรฐาน : สิ่งที่ถือเป็นหลักสำหรับเทียบกำหนด เป็นบรรทัดฐานที่ใช้ในการควบคุมระบบงานต่างๆ เช่น ระบบการผลิตจะมีมาตรฐานวัตถุดิบ มาตรฐานการผลิต มาตรฐานเวลาการทำงาน มาตรฐานของงาน มาตรฐานเครื่องจักร เป็นต้น มาตรฐานเวลาการทำงาน การกำหนดเวลามาตรฐานซึ่งใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการผลิตและเป็นเครื่องมือในการจัดทำแผนการจ่ายเงินจูงใจ Rujipas potongsangarun

37 ทักษะทางด้านแก้ปัญหา
กระบวนการแก้ปัญหา การศึกษาการทำงาน ออกแบบวิธีการทำงาน ทักษะทางด้านแก้ปัญหา 1)การตั้งนิยามของปัญหา 2)วิเคราะห์ปัญหาและรายละเอียด 3)พิจารณาหาสู่ทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด 4)ประเมินข้อเปรียบเทียบต่างๆเพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุด 5)ให้คำแนะนำและติดตามผล Rujipas potongsangarun

38 1.การตั้งนิยามของปัญหา
กระบวนการแก้ปัญหา 1.การตั้งนิยามของปัญหา เป็นการค้นหาปัญหาและให้คำอธิบายปัญหานั้นอย่างชัดเจนสำหรับงานที่กำลังจะศึกษา และควรพิจารณาเงื่อนไขหรือเกณฑ์สำหรับการตัดสินใจไปพร้อมๆกัน 2.การวิเคราะห์ปัญหา เป็นขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และข้อจำกัดที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบวิธีการทำงาน Rujipas potongsangarun

39 3.พิจารณาหาสู่ทางแก้ที่ดีที่สุด
กระบวนการแก้ปัญหา 3.พิจารณาหาสู่ทางแก้ที่ดีที่สุด เป็นขั้นตอนในการหาคำตอบที่เป็นไปได้ภายในข้อจำกัดที่มีอยู่ โดย ก.เทคนิคการระดมสมอง ข.แผนภูมิเหตุและผล ค.การใช้ตารางตรวจสอบ ง.การวิเคราะห์โดยใช้ผัง Decision Tree จ.การวิเคราะห์ Failure Mode and Effects Analysis (FMEA) ฉ.การวิเคราะห์ Fault Tree Analysis (FTA) ช.การวิเคราะห์สนามพลัง Rujipas potongsangarun

40 4.ประเมินข้อเปรียบเทียบต่างๆเพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุด
กระบวนการแก้ปัญหา 4.ประเมินข้อเปรียบเทียบต่างๆเพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุด เป็นขั้นตอนการพิจารณาเปรียบเทียบข้อดี-ข้อเสียของคำตอบเหล่านั้นโดยการใช้เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ได้แก่ เป็นคำตอบที่ดีสามารถนำไปปฏิบัติได้ พิจารณาถึงผลที่จะตามมาในอนาคต พิจารณาปฏิกิริยาตอบรับของผู้ทำงาน เปรียบเทียบคำตอบในเชิงเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น Rujipas potongsangarun

41 5.ให้คำแนะนำและติดตามผล
กระบวนการแก้ปัญหา 5.ให้คำแนะนำและติดตามผล เป็นขั้นการติดตามว่าวิธีการใหม่ที่นำไปใช้สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล ควรมีการตรวจสอบเป็นระยะเพื่อจะได้ทราบปัญหาตลอดเวลา และสามารถประเมินผลโดยรวมจากวิธีการทำงานใหม่ได้ Rujipas potongsangarun

42 คำถาม 1.จงอธิบายความหมายการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา 2.จงอธิบายวิวัฒนาการของการศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา 3.จงเขียนแผนภาพเกี่ยวกับการศึกษาการทำงานพร้อมอธิบาย 4.จงอธิบายขั้นตอนของการศึกษาการทำงาน 5.จงอธิบายประโยชน์ของการศึกษาการทำงานและการวัดผลงาน 6.เครื่องมือใดที่ใช้วัดผลการดำเนินงานของการบริหารอุตสาหกรรม

43 คำถาม 7.จงอธิบายวงจรเพิ่มผลผลิต 8.จงอธิบายคำว่า ต้นทุน การสูญเสีย มาตรฐาน มาตรฐานเวลา ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 9.จงอธิบายองค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรม 10.จงอธิบายคุณค่าของการศึกษาการทำงาน 11.จงอธิบายขั้นตอนของกระบวนการแก้ปัญหา

44 จบบทที่ 1 Rujipas potongsangarun


ดาวน์โหลด ppt การศึกษาความเคลื่อนไหวและเวลา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google