งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น แกรนด์ พาเลซ จังหวัดชลบุรี 1

2 สภาพปัญหางานบูรณาการคุ้มครองผู้บริโภค จากสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรมที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นว่ามีผลกระทบต่อระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและผู้บริโภค เป็นอย่างมาก ได้แก่  สถานบริการ สุขภาพ  ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ  การจัดการ ปัญหาโฆษณา - โรงพยาบาล คลินิกเอกชน ให้บริการไม่ได้ มาตรฐาน - คลินิกเถื่อน - ผัก ผลไม้ มียาฆ่าแมลงสูง - น้ำมันทอดซ้ำ - น้ำบริโภค น้ำแข็ง ปนเปื้อนจุลินทรีย์ - ปัญหาไอโอดีนใน ผลิตภัณฑ์ไม่ได้ มาตรฐาน - การใช้ยาปฏิชีวนะ ไม่เหมาะสม/ ผลิตภัณฑ์ยาแผน โบราณ ผลิตภัณฑ์ อาหารผสมสเตียรอยด์ -โฆษณาผลิตภัณฑ์/ บริการ/สุขภาพ โอ้อวด/เป็นเท็จ/ เกินจริง 2  กลไกการ ดำเนินงาน คบส. - ขาดความต่อเนื่องใน การประชุมคณะอนุกรรมการฯ ทำให้กลไกการขับเคลื่อน การดำเนินงาน คบส. ระดับเขตชะงัก ไม่ชัดเจน - ขาดการมีส่วนร่วมใน การจัดทำยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการงานคุ้มครอง ผู้บริโภคระดับเขต - แนวทางการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครอง ผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด ยังไม่ชัดเจน - ขาดเครื่องมือและกำลังคน ในการปฏิบัติงานระดับพื้นที่

3 3 2. สถานบริการสุขภาพปลอดภัย ประเด็นที่คัดเลือกร่วมกัน ปี 2559 3. ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย 2.1 ระบบและโครงสร้างอาคาร 2.2 เครื่องมือและเวชภัณฑ์ 2.3 ผู้ประกอบวิชาชีพตรงสาขาบริการ 4. การจัดการปัญหาโฆษณา 3.1 อาหารปลอดภัย 3.2 การกระจายยาและการใช้ยาอย่างปลอดภัย 1.ระบบการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต/จังหวัด

4 มาตรการแผนบูรณาการด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2559 มาตรการเป้าหมายวิธีการวัดผลลัพธ์ สร้างระบบคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความเชื่อมั่นต่อ ความปลอดภัยที่ใช้สถานประกอบการ สถานบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์สุขภาพใน ระดับเขตสุขภาพและอำเภอ 1. การบังคับใช้กฎหมาย 1.1 จัดการเรื่องร้องเรียน 1.2 ปราบปรามจับกุม 1.3 ตรวจสอบเฝ้าระวัง 2. พื้นที่ดำเนินการ (Setting) 2.1 อาหาร - ชุมชน : สถานประกอบการ/แหล่งรวบรวม โรงงานน้ำ ภัตตาคาร 2.2 ยา - ชุมชน - สถานพยาบาล 2.3 ข้อมูลข่าวสาร (โฆษณา) - ช่องทางสำคัญ 3. ระบบการจัดการ 3.1 จัดตั้งอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขต 3.2 กลไกระดับเขต-จังหวัด 3.3 การพัฒนารูปแบบ 3.4 การพัฒนาศักยภาพ 3.5 ฐานข้อมูล ผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สถานบริการสุขภาพ ปลอดภัย รวมถึง ข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพที่ ผู้บริโภคได้รับอย่าง ถูกต้องเป็นธรรม 1.นิเทศและ ติดตาม ประเมิน ผล 2.สำรวจ ข้อมูล (Rapid Survey) ประชาชน/ ชุมชน สามารถ ปกป้อง คุ้มครอง ตนเองได้ จากการ ได้รับ บริการและ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ที่ไม่มี คุณภาพ 4

5 ตัวชี้วัดการดำเนินงานบูรณาการยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 KPI ระดับ กระทรวง KPI ระดับเขต สุขภาพ ระดับ ความสำเร็จ ของการ ดำเนินงาน คุ้มครอง ผู้บริโภคด้าน ผลิตภัณฑ์ สุขภาพและ บริการสุขภาพ 5 Σ (ระดับความสำเร็จของเขต) จำนวนเขต Σ (ระดับความสำเร็จของจังหวัด) จำนวนจังหวัด การคิดค่าคะแนน ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ 2. ตัวชี้วัดเชิงประเด็น ระดับจังหวัด (ค่าน้ำหนักรวมกันให้ได้ 50%) ดังนี้ 2.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามได้รับการ เฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ค่าน้ำหนัก = 5%) 2.2 ร้อยละเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับดำเนินการ ตามกฎหมาย (ค่าน้ำหนัก = 5%) 2.3 ระดับความสำเร็จของการสุ่มตรวจสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในผักในตลาดสด (ค่าน้ำหนัก = 4%) 2.4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์เกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิตมีปริมาณไอโอดีนตาม เกณฑ์ที่กำหนด (20 – 40 ppm) (ค่าน้ำหนัก = 2%) 2.5 ร้อยละของสถานที่ผลิตน้ำปลา ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีน ของถั่วเหลืองและน้ำเกลือปรุงอาหารมีระบบควบคุมคุณภาพที่ถูกต้อง (ค่าน้ำหนัก = 2%) 2.6 ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาตามแผน (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.7 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยใน ชุมชนตำบลนำร่อง (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.8 ร้อยละของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.9 ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับการแก้ไขภายใน ระยะเวลาตามที่กำหนด (ค่าน้ำหนัก = 8%) 1. ระบบการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต (ค่าน้ำหนัก = 50%) KPI ระดับ จังหวัด

6 6 เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ที่ได้ คะแนน ถ่วง น้ำหนัก (KPI จังหวัด) 12345 1. ระดับความสำเร็จการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต 0.5012345 2. ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริม ความงามได้รับการเฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่ กฎหมายกำหนด 0.0580859095100 3. ร้อยละเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่กระทำ ผิดกฎหมายได้รับดำเนินการตามกฎหมาย 0.057072.575.077.580.0 4. ร้อยละของตลาดสดมีการสุ่มตรวจสารเคมีกำจัด ศัตรูพืชในผัก 0.0412345 5. ร้อยละขอผลิตภัณฑ์เกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิต มีปริมาณไอโอดีนตามเกณฑ์ที่กำหนด (20-40 ppm) 0.0260708090100 6. ร้อยละของสถานที่ผลิตน้ำปลา ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลืองและน้ำเกลือปรุง อาหาร มีระบบควบคุมคุณภาพที่ถูกต้อง 0.024050607080 7. ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุใน ภาชนะพร้อมจำหน่ายกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนา ตามแผน 0.0870809095100 8. ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริม การใช้ยาปลอดภัยในชุมชนตำบลนำร่อง 0.0812345 9. ร้อยละของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ 0.089092.59597.5100 10.ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับ การแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด 0.088286909498

7 7 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google