งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร

2 ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข อัตราส่วนการตายของมารดา 3 ราย 5 ราย ปี 2557 เขต 10 ที่มา : รายงานการคลอด ก2

3 สาเหตุการเสียชีวิตของมารดา ข้อมูลปี 2553-2557 ขณะคลอดหลังคลอด - PIH 3 ราย - Heart disease 2 ราย - Embolism 2 ราย - Complete spontaneous abortion with sepsis 1 ราย - Abruptio placenta 1 ราย - โรคอายุรกรรม (ม้ามแตก) 1 ราย - เส้นเลือดในสมองแตก 1 ราย - PPH 8 ราย - Sepsis /Septicemia 3 ราย - Heart disease 1 ราย - PIH 2 ราย - Thyroid 1 ราย

4 สรุปสภาพปัญหา ขาดทักษะ / การตัดสินใจรักษาและ ส่งต่อล่าช้า ขาดแคลนวิชาชีพเฉพาะ ในรพ.แม่ข่าย บุคลากร ระบบสื่อสาร/ การconsult case / OR ระบบ Refer Fast Track/ ศักยภาพรพ. แม่ข่าย การให้บริการตามมาตรฐาน CPG บริการ ขาดแคลนยา สารน้ำ คลังเลือด ขาดเครื่องมือช่วย : U/S, NST, NI BP, IP วัสดุ/ เวชภัณฑ์ การแก้ไขปัญหา : Service Plan วิเคราะห์Gap ลดอัตราตายจากโรคที่ป้องกันได้ การแก้ไขปัญหา : Service Plan วิเคราะห์Gap ลดอัตราตายจากโรคที่ป้องกันได้

5 ได้รับ บริการ ครบถ้วน ตาม มาตรฐาน ทั้งในส่วน ของ ANC คุณภาพ LR คุณภาพ ANC คุณภาพ

6 ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการ ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด ปี 2557-2558 แยกรายจังหวัด อัตรา : 1,000 LB ร้อยละของทารกแรกเกิดมีน้ำหนัก<2,500 กรัม %

7 สถานการณ์ ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2552-2558 ที่มา:รง.คลอดก.2 ร้อยละของทารกที่มีระดับ TSH >11.2 µg/L

8 การแก้ไขปัญหา ANC คุณภาพ ภาวะโภชนาการ : ประเมินผลการกินยาวิตามิน และ อาหารที่เหมาะสมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ LR คุณภาพ ค้นหาความเสี่ยงในระยะรอคลอด/คลอด

9 เด็กอ้วน เด็กอ้วน ที่มา :รายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน ปีการศึกษา 2557 เทอม 2 โอกาสพัฒนา : ความร่วมมือกับการศึกษา การดูแลสุขภาพองค์รวม ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (โภชนาการ สายตา การได้ยิน IQ พฤติกรรม จมน้ำ) โอกาสพัฒนา : ความร่วมมือกับการศึกษา การดูแลสุขภาพองค์รวม ในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (โภชนาการ สายตา การได้ยิน IQ พฤติกรรม จมน้ำ)

10 อุบลราชธา นี ศรีสะ เกษ ยโสธร อำนาจเจ ริญ มุกดาห าร ค่าที่พึงประสงค์ เสียชีวิตไม่เกิน ( คน ) 2529667 ผลงานเสียชีวิต ( คน ) 91592 4 อัตรา / แสน ปชก. 2.296.049.232.796.02 การป้องกันเด็กจมน้ำ อัตราการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากการจมน้ำ ปี 2558 เป้าหมาย ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน

11 โอกาสพัฒนา – การใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการวางแผนร่วมกับสหสาขา – การสวบสวนสาเหตุเชิงระบาดวิทยาในการวางแผนแก้ปัญหา – การเลือกมาตรการให้เหมาะสมกับปัญหา – การประสานงานและบูรณาการร่วมกับสหสาขา ข้อเสนอแนะ – สนับสนุนให้ใช้กลไกการดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรค เข็มแข็งแบบยั่งยืนและระบบสุขภาพอำเภอในการสนับสนุน ให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน – สนับสนุนให้เกิดการถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงานในพื้นที่ – สนับสนุนให้มีการประกวดและเชิดชูผลการดำเนินงาน ใน ระดับจังหวัด เขต และประเทศ การป้องกันเด็กจมน้ำ

12 อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ที่มา : Cockpit สสจ.ในเขตสุขภาพที่ 10 ที่มา : HDC สำนักนโยบายและแผน 5 ก.ย. 58 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำและอัตราการได้รับคุมกำเนิดกึ่งถาวร ของมารดา 15-19 ปี อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำและอัตราการได้รับคุมกำเนิดกึ่งถาวร ของมารดา 15-19 ปี ต่อพัน ร้อยละ

13 * อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่น มากกว่า 10% ทุกจังหวัด บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร เขต 10 ต่ำที่สุด : ควรให้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร กับมารดาวัยรุ่น หลังคลอด หลังแท้ง เพื่อยืดระยะเวลาการตั้งครรภ์ : เพิ่มการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการตั้งครรภ์ ใน กลุ่มนอกระบบการศึกษา : ควรให้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร กับมารดาวัยรุ่น หลังคลอด หลังแท้ง เพื่อยืดระยะเวลาการตั้งครรภ์ : เพิ่มการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันการตั้งครรภ์ ใน กลุ่มนอกระบบการศึกษา

14 ที่มา : ผลสำรวจสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2550,2554,2557 ปี 50 ปี 54 ปี 57 เป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (ปี 2563) ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อายุ 15-19 ปี ไม่เกินร้อยละ 19.2 อัตราบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบ ในกลุ่มเยาวชนอายุ 15-19 ปี อัตราบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และยาสูบ ในกลุ่มเยาวชนอายุ 15-19 ปี

15 ข้อสังเกต  จุดเสี่ยงต่อการละเมิดกฎหมาย คือ การ เข้ามาใช้สถานที่ของบุคคลภายนอก เช่น จัดงานเลี้ยง เล่นกีฬาออกกำลังกาย ช่วงเย็น การสันทนาการเพื่อการตลาด (แก๊งสามช่า คอนเสริต) รวมถึงมีเขต ก่อสร้างอาคารในบริเวณสถานศึกษา เป็นต้น  ทุกแห่ง มีกระบวนการช่วยเหลือนักเรียน ที่มีพฤติกรรมเสี่ยง  ประเด็นเข้าข่ายการกระทำผิดของร้านค้า ที่อยู่โดยรอบสถานศึกษา คือ ขายนอก เวลา และป้ายโฆษณา ตู้โชว์ เป็นต้น

16  การปรับแผนงานในกลุ่มเป้าหมายเยาวชน ควรบูรณาการกับงาน To Be Number One ให้ชัดเจน และเพิ่มกิจกรรมให้ครอบคลุมไปสู่กลุ่มเยาวชนที่อยู่นอกระบบ การศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญ และมีการสร้างความร่วมมือ จัดระเบียบร้านเหล้ารอบสถาบันอุดมศึกษา และสถาบัน อาชีวศึกษากับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง  การประชุมคณะกรรมการฯระดับจังหวัด ควรผลักดันให้เกิดการประชุมคณะกรรมการควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบระดับจังหวัด เพื่อให้เครือข่ายที่ เกี่ยวข้องได้ร่วมรับทราบปัญหา และวางแผนและติดตามการ ดำเนินงานในพื้นที่ โอกาสพัฒนาในปี 2559

17  การสนับสนุนงานบุญ/งานศพปลอดเหล้า ควรผลักดันและติดตามประเมินผลการดำเนินการงานบุญ/ งานศพปลอดเหล้าให้เป็นไปตามนโยบาย เพื่อกระตุ้นให้เกิดความ ร่วมมือและเกิดความต่อเนื่องในทุกพื้นที่  ผล Quick Survey พบ การรับรู้กฎหมายเหล้า บุหรี่ของ ร้านค้า/ประชาชน ยังน้อย ทุกจังหวัดควรเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์กฎหมายใน ชุมชนให้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสร้างเครือข่ายร้านค้า/แกนนำชุมชน ให้มีส่วนร่วมเฝ้าระวังการละเมิดกฎหมายในชุมชน  ไม่มีฐานข้อมูล พัฒนาฐานข้อมูลที่เป็นแนวทางเดียวกัน ในเขตสุขภาพ โอกาสพัฒนาในปี 2559

18 จำนวนและอัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน จำแนกรายจังหวัด ณ ไตรมาส 3 ปี 2558 จังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิตรายข้อมูลจาก สนย. ปี 2558 อัตรา ต.ค- ธค58 มค.- มีค.58เมย.มิย.58รวม ปชก.กลางปี อัตรา จาก 43 แฟ้ม มุกดาหาร 12 76 25345,1597.24 8.91 ยโสธร 28 1714 59540,29710.92 3.86 ศรีสะเกษ 42 5030 1221,463,6208.34 1.96 อำนาจเจริญ 9 78 24375,0396.40 9.61 อุบลราชธานี 135 115116 3661,840,59619.88 14.45 รวม 2261961745964,564,71113.06 8.40 ข้อมูล สนย. พบว่า จ.อุบลราชธานี เกินค่าเป้าหมายแล้ว น่าสังเกต ผู้เกี่ยวข้องจาก หลายส่วน ได้ขับเคลื่อนงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนน ในปีงบ58 แต่ผลลัพธ์ อัตราตาย ไม่ลดลงชัดเจน

19 อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ในระยะ 5 ปี (ปี 2558 - ปี2562) จัดอันดับอัตราตายปี 2557อัตราตายลดลงเมื่อเทียบปี 2555 ปี 2555-2557 อัตราตายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 1) อุบลราชธานี 22.38 ต่อแสน ปชก 2) ศรีสะเกษ 21.71 ต่อแสน ปชก 3) ยโสธร 18.88 ต่อแสน ปชก 4) อำนาจเจริญ 16.04 ต่อแสน ปชก 5) มุกดาหาร 8.44 ต่อแสน ปชก. จังหวัดมุกดาหาร และ จังหวัดยโสธร NCD clinic คุณภาพ : ประเมินตนเองผ่าน100% (70 อำเภอ) NCD clinic คุณภาพ : ประเมินตนเองผ่าน100% (70 อำเภอ) ผ่านการรับรองจาก สคร. ปี 2557-2558 = 43 อำเภอ (ผ่านทุกอำเภอ) ผ่านการรับรองจาก สคร. ปี 2557-2558 = 43 อำเภอ (ผ่านทุกอำเภอ) 1) คลินิก NCD คุณภาพแบบบูรณาการ -(บูรณาการ บริการ DPAC Psychosocial บริการช่วยเลิกบุหรี่ และสุรา -และตำบลจัดการสุขภาพ) 2) ประเมินและการจัดการโอกาสเสี่ยงต่อ CVD การจัดการโรคและลดเสี่ยงรายบุคคล

20 GAP ในกระบวนการ ดำเนินงาน -การทำหน้าที่ของ NCD BOARD ระดับจังหวัด/ อำเภอซึ่งมีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทางการ ทำงาน การวางแผนตอบสนองต่อปัญหายังมีข้อจำกัด -ระบบข้อมูล พบปัญหา การเชื่อมโยง update ข้อมูลจาก ฐานข้อมูลของ รพท.บางจังหวัด ด้านคุณภาพข้อมูล ยังมี ปัญหาความถูกต้อง ความครบถ้วน & เป็นปัจจุบัน จากปัญหา 1)นิยามศัพท์ 2)การกรอกข้อมูลไม่สมบูรณ์ 3)การกรอกข้อมูล ล่าช้า รวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลเชิงระบาดวิทยา การนำข้อมูลไป ใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนา และการคืนข้อมูลให้กับ พื้นที่ค่อนข้างน้อย

21 ---การบูรณาการงาน NCD กับ Service plan งาน กลุ่มวัยทำงาน รวมทั้ง DHS /FCT โดยเป็น คณะกรรมการร่วม แต่ในกระบวนการทำงานพบว่า ส่วนใหญ่ยังแยกส่วน ขาดการวางแผนการทำงาน ร่วมกันที่ชัดเจนในระดับจังหวัด ทำให้การถ่ายทอด งานสู่อำเภอยังคงแยกตามสายงานเป็นส่วน ๆ GAP ในกระบวนการ ดำเนินงาน

22 โอกาสพัฒนา NCD Board ระดับจังหวัด และอำเภอ ควรมีการ กำหนดบทบาทหน้าที่ วางแผนการทำงาน และ กำกับติดตามประเมินผลอย่างชัดเจน เป็นระบบที่มี ความต่อเนื่อง ควรพัฒนาระบบฐานข้อมูลของ รพศ./รพท.ให้ เชื่อมโยงเป็นฐานเดียวกันกับจังหวัด มีระบบ ติดตามตรวจสอบข้อมูล และการนำข้อมูลไปใช้ ประโยชน์เชิงระบาดวิทยา, การ mapping เพื่อการ วางแผน และแนะนำให้ จนท.ใช้ประโยชน์ข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการดูแลผู้ป่วย มากกว่า มุ่งการ รายงาน และตอบ KPI

23 โอกาสพัฒนา ควรมีการบูรณาการ NCD กับงานอื่น ๆ ทั้ง Service plan งานกลุ่มวัยทำงาน รวมทั้ง DHS /FCT ภายใต้ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ตั้งแต่ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล เพื่อให้ เกิดการทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพ มีเครือข่าย และมีระบบส่งต่อ ที่จะทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแล ทั้งโรคและปัจจัยเสี่ยงอย่างต่อเนื่องทั้งในหน่วย บริการและในชุมชน

24 กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป อัตราส่วนผู้สูงอายุ จ.อุบลฯ ร้อยลละ 11.5 จ.ศรีสะเกษ ร้อยลละ 12.3 จ.ยโสธร ร้อยลละ 13.9 จ.อำนาจเจริญ ร้อยลละ 12.9 จ.มุกดาหาร ร้อยลละ 15.2อัตราส่วนผู้สูงอายุ จ.อุบลฯ ร้อยลละ 11.5 จ.ศรีสะเกษ ร้อยลละ 12.3 จ.ยโสธร ร้อยลละ 13.9 จ.อำนาจเจริญ ร้อยลละ 12.9 จ.มุกดาหาร ร้อยลละ 15.2 ร้อยละ ของDHS มีระบบ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และผู้สูงอายุที่ต้องการการ พึ่งพิง (Long Term Care) อุบลฯศรีสะเกษ ยโสธรอำนาจเจริญมุกดาหาร ทุกจังหวัดสามารถดำเนินการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน โอกาสพัฒนา : เพิ่มความครอบคลุมการคัดกรองกลุ่ม Geriatric syndrome : เพิ่มกิจกรรมการดูแลสุขภาพ ADL กลุ่ม 1-2 โดยชมรมฯ : จัดทำสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ พิการ ตามมาตรฐาน

25 ร้อยละ 50 ของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญ หลายจังหวัดไม่พบนำข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่างๆมาเชื่อมโยงวิเคราะห์สถานการณ์ และทำพื้นที่เสี่ยงไม่ครอบคลุมทุกปัจจัย พื้นที่เสี่ยง(หมู่บ้าน/ตำบล) ไม่พบมาตรการเฉพาะแก้ไขปัญหาลดโรค อำเภอเสี่ยงพบว่า SRRTตำบลบางแห่งควบคุมโรคไข้เลือดออกเกิน2รุ่น หลายจังหวัดไม่พบนำข้อมูลปัจจัยเสี่ยงต่างๆมาเชื่อมโยงวิเคราะห์สถานการณ์ และทำพื้นที่เสี่ยงไม่ครอบคลุมทุกปัจจัย พื้นที่เสี่ยง(หมู่บ้าน/ตำบล) ไม่พบมาตรการเฉพาะแก้ไขปัญหาลดโรค อำเภอเสี่ยงพบว่า SRRTตำบลบางแห่งควบคุมโรคไข้เลือดออกเกิน2รุ่น GAP ผลงาน : ไข้เลือดออก ควบคุมได้ 70 % พื้นที่เสี่ยง 21 อำเภอ หัด ควบคุมได้ 100 % 1. ควรนำปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ มาเชื่อมโยงวิเคราะห์สถานการณ์และ นำข้อค้นพบที่เป็นปัญหามาวางมาตรการป้องกันโรคล่วงหน้า 2. ควรวางมาตรการระยะกลางในปี 2559 ป้องกันไข้เลือดออก - ควร MOUกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย - ควรบูรณาการหมู่บ้านจัดการสุขภาพและจัดการขยะสู่ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย 1. ควรนำปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ มาเชื่อมโยงวิเคราะห์สถานการณ์และ นำข้อค้นพบที่เป็นปัญหามาวางมาตรการป้องกันโรคล่วงหน้า 2. ควรวางมาตรการระยะกลางในปี 2559 ป้องกันไข้เลือดออก - ควร MOUกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมโรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย - ควรบูรณาการหมู่บ้านจัดการสุขภาพและจัดการขยะสู่ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย ข้อเสนอแนะ

26 ร้อยละ 50 อำเภอชายแดนสามารถควบคุม โรคติดต่อสำคัญอันดับ1,2 ได้ (เป้าหมาย: 17อำเภอ 4 จังหวัด) ข้อเสนอแนะ  ควรถอดบทเรียนการควบคุมโรค สำคัญสูงเกิน 2 รุ่นเพื่อการแก้ไข ปัญหา  ควรสำรวจ ค้นหา และสร้างแกนหลัก อสต. นอกระบบ และจัดอบรม อสต.  ควรทบทวน และจัดทำ SOP การ รายงานเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ชายแดน  ควรจัดทำ SOP ระบบส่งต่อให้ สมบูรณ์  ควรถอดบทเรียนการควบคุมโรค สำคัญสูงเกิน 2 รุ่นเพื่อการแก้ไข ปัญหา  ควรสำรวจ ค้นหา และสร้างแกนหลัก อสต. นอกระบบ และจัดอบรม อสต.  ควรทบทวน และจัดทำ SOP การ รายงานเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ชายแดน  ควรจัดทำ SOP ระบบส่งต่อให้ สมบูรณ์ ควบคุมโรค อันดับ 1 อันดับ2ทำได้ 2 โรค ปี 2558 ณ มิ.ย. มห. DHF 100% อจ. DHF 100% อบ. DHF 80% ศก. DHF 66.7% Hand foot mount 66.7% Influenza 100% Measles 100% Leptospirosis 100% 66.7% 100.0% 80.0% 66.7% อำเภอชายแดนเสี่ยง พบว่า SRRTตำบล บางแห่ง ควบคุมโรคสำคัญสูง1,2 เกิน 2 รุ่น จังหวัดชายแดนอยู่ระหว่างจัดทำฐานข้อมูล แรงงานต่างด้าวนอกระบบและไม่พบบริการ ควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน จ.ศรีสะเกษ ไม่พบ SOP รายงานข้อมูล เฝ้าระวังโรค (Event base) ของพื้นที่ ชายแดน จ.อุบลราชธานี พบว่าบางกรณีมีผู้ป่วย ต่างชาติข้ามชายแดนไทย-ลาว มารักษา โดยไม่ผ่านระบบส่งต่อ ที่มา:ผู้รับผิดชอบงาน อำเภอชายแดนเสี่ยง พบว่า SRRTตำบล บางแห่ง ควบคุมโรคสำคัญสูง1,2 เกิน 2 รุ่น จังหวัดชายแดนอยู่ระหว่างจัดทำฐานข้อมูล แรงงานต่างด้าวนอกระบบและไม่พบบริการ ควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน จ.ศรีสะเกษ ไม่พบ SOP รายงานข้อมูล เฝ้าระวังโรค (Event base) ของพื้นที่ ชายแดน จ.อุบลราชธานี พบว่าบางกรณีมีผู้ป่วย ต่างชาติข้ามชายแดนไทย-ลาว มารักษา โดยไม่ผ่านระบบส่งต่อ ที่มา:ผู้รับผิดชอบงาน GAP

27 ขอขอบพระคุณ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google