งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
โครงการเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์กลุ่มประชากรหลัก (เรือนจำ) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก The Office of Disease and Prevention Control 9th Phitsanuloke

2 โครงการเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาเอดส์กลุ่มประชากรหลัก (เรือนจำ) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก

3 ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก
พันธมิตรหลักในโครงการ ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

4 การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย
วัตถุประสงค์ สนับสนุนทางวิชาการ การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย การสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการรับและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี การเข้าถึงบริการตรวจเลือดโดยสมัครใจ สร้างเครือข่ายการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

5 เนื้อหา/อบรมเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์กลุ่มประชากรหลัก(เรือนจำ)
ความเข้าใจเรื่องการรับและถ่ายทอดเชื้อ ความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางเพศ และสิทธิมนุษยชน การไม่ตีตราและเลือกปฏิบัติ กับผู้ติดเชื้อ และสามารถประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี การเข้าถึงบริการตรวจเลือดโดยสมัครใจ เพื่อรู้สถานการณ์ติดเชื้อและเข้าสู่ระบบการรักษา เพื่อเตรียมความพร้อมในการดูแล รักษาป้องกันและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี

6 กิจกรรมอบรมแกนนำผู้ต้องขังให้ความรู้การป้องกัน เฝ้าระวัง ค้นหาผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอดส์ รวมทั้งการเข้าถึงยาต้านไวรัสเอดส์

7 ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก
หน่วยงานที่ร่วมกิจกรรมการอบรมผู้ต้องขัง เรือนจำกลางพิษณุโลก เรือนจำจังหวัดพิษณุโลก ทัณทสถานหญิงพิษณุโลก เรือนจำจังหวัดตาก เรือนจำอำเภอแม่สอดจังหวัดตาก ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก รวมทั้งสิ้น 377 คน

8 เฉลี่ยร้อยละความพึงพอใจ
สำรวจความพึงพอใจการอบรมของผู้ต้องขัง ความพึงพอใจ มากที่สุด มาก น้อย น้อยที่สุด 1.หัวข้อการบรรยาย/อภิปรายตรงตามความต้องการของท่าน 70.5 29.5 2.ท่านได้รับความรู้จากการบรรยาย/อภิปราย 59.1 40.9 3.ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน 47.7 52.3 4.เวลาเหมาะสมกับเนื้อหา 54.5 4.5 5.การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น/ซักถาม เฉลี่ยร้อยละความพึงพอใจ 53.18 44.98 1.8 พึงใจในการอบรมมากที่สุดและมากรวมกันคิดเป็นร้อยละ

9 ข้อเสนอแนะการอบรมเพิ่มเติมจากผู้ต้องขัง
สิ่งที่น่าประทับใจการจัดอบรม - ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ข้อเสนอแนะ - ควรมีการจัดอบรมหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง - ควรเพิ่มวันการจัดอบรม - สถานที่คับแคบ

10 ข้อเสนอแนะการอบรมเพิ่มเติมจากต้องขัง
สิ่งที่น่าประทับใจหรือข้อควรปรับปรุงของวิทยากร - มีความรู้ความเข้าใจในการสอนเป็นอย่างดี - วิทยากรทุกคนเป็นกันเอง และไม่ถือตัว ยิ้มแย้มแจ่มใส - มีความทุ่มเทในการสอนเป็นอย่างยิ่ง สิ่งที่น่าประทับใจการจัดอบรม - ได้รับความรู้เพิ่มขึ้นและนำความรู้ที่ได้ไปปฎิบัติได้อย่างดี - ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องที่สอน และเห็นสิ่งแปลกใหม่ที่ไม่เคยเห็น - ได้รับประทานอาหารที่ดี ข้อเสนอแนะ - น่าจะจัดอีกหลายครั้งๆ และจัดหลายๆวัน - อยากให้มีโครงการดีๆแบบนี้อีกต่อไป

11 การตรวจเลือดหาการติดเชื้อ HIV โดยสมัครใจขณะอบรมผู้ต้องขัง

12 ผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ในเรือนจำ ฑัณทสถาน สถานพินิจ
ลำดับ หน่วยงาน ผู้ตรวจเลือด VCT ค้นพบ HIV+case ใหม่ ร้อยละ  1 เรือนจำกลางพิษณุโลก 272 2 0.73 เรือนจำจังหวัดพิษณุโลก 79 3 3.79 ทัณฑสถานหญิงพิษณุโลก 179 4 เรือนจำกลางตาก 133 0.75 5 เรือนจำอำเภอแม่สอดจังหวัดตาก 138 2.17 รวม 801 9 1.12 อำเภอแม่ Source : สำนักป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก , กรกฎาคม ร้อยละผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS คิดเป็นร้อยละ ของผู้ที่ยินยอม VCT

13 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมอบรมผู้ต้องขัง
เรือนจำต่างจังหวัดบางแห่งไม่มีห้องสำหรับการอบรม ต้องอบรมผู้ต้องขังในเต็นท์ทำให้แสงสว่างของ LCD ที่ฉายขึ้นจอมองเห็นไม่ชัดเจน เรือนจำควรพิจารณาจัดหาห้องประชุมที่เหมาะสม จำนวนนักโทษที่อบรมแต่ละรุ่นประมาณ คน อยู่ในช่วงจำนวนพอดีที่จะให้ความรู้และพูดคุยซักถามข้อสงสัย

14 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมอบรมผู้ต้องขัง
การอบรมผู้ต้องขังต้องลึกซึ้งเข้าถึงเนื้อหา ไม่คลุมเครือ ใช้คำอธิบายเข้าใจง่าย ๆ เพราะผู้ต้องขังอาจมีการศึกษาน้อย ต้องมีเนื้อหาที่สนุกสนานที่ผู้ต้องขังสนใจและหาความรู้นี้ไม่ได้จากที่ใดมาก่อน วิทยากรต้องมีท่าทีที่เป็นมิตร ไม่ถือตัว และไม่แสดงท่าทีหวาดกลัวหรือรังเกียจผู้ต้องขัง วิทยากรต้องสามารถตอบคำถามผู้ต้องขังให้ได้ความกระจ่างทุกคำถาม

15 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมอบรมผู้ต้องขัง
ควรให้เรือนจำคัดเลือกผู้ต้องขังแกนนำ ที่จะเข้าร่วมอบรมจากหัวหน้าห้อง เพื่อให้สามารถให้ความรู้หรือขยายความคิดกับเพื่อนผู้ต้องขังได้ ควรมีบริการตรวจเลือดโดยสมัครใจ (VCT) ในขณะการอบรม เพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อในขณะที่ได้รับความรู้ไปใหม่ ๆ

16 พฤติกรรมทางเพศของผู้ต้องขังในเรือนจำ
การศึกษา R to R ในเรือนจำ พฤติกรรมทางเพศของผู้ต้องขังในเรือนจำ 16

17 การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
รูปแบบการศึกษา การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ต้องขังในจังหวัดพิษณุโลกและตาก ที่ผ่านการอบรมเอดส์ จำนวน 367 คน ใน 5 เรือนจำ

18 ข้อมูลพื้นฐานผู้ต้องขัง
ข้อมูลด้านอายุ

19 ข้อมูลพื้นฐานผู้ต้องขัง
ระดับการศึกษา

20 สถานภาพสมรสก่อนเข้าเรือนจำ
ข้อมูลพื้นฐานผู้ต้องขัง สถานภาพสมรสก่อนเข้าเรือนจำ

21 ข้อมูลพื้นฐานผู้ต้องขัง
ระยะเวลาต้องโทษ

22 ข้อมูลพื้นฐานผู้ต้องขัง
ลักษณะต้องโทษ

23 ข้อมูลพื้นฐานผู้ต้องขัง
เคยผ่านการอบรม หรือ ได้รับความรู้เรื่องเอดส์

24 พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง
เคยใช้สารเสพติด

25 ประเภทสารเสพติดที่เคยใช้
พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง ประเภทสารเสพติดที่เคยใช้

26 พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง
เคยใช้ยาบ้า

27 พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง
เคยใช้เฮโรอีน

28 พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง
ในอดีตเคยใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอน

29 สาเหตุที่ไม่ใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอน
พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง สาเหตุที่ไม่ใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอน

30 วิธีที่ใช้ลดความเสี่ยง
พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อ เอช ไอ วี ของผู้ต้องขัง วิธีที่ใช้ลดความเสี่ยง

31 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์หลังอบรม
% คำถาม 1. การใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ สามารถลดความเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์)ได้ ใช่หรือไม่ 2. การมีเพศสัมพันธ์กับคู่รัก/แฟน ที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์)เพียงคนเดียว และคนนั้นก็ไม่มีเพศสัมพันธ์กับคนอื่น สามารถลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์)ได้ ใช่หรือไม่ 3. คนที่ดูมีสุขภาพแข็งแรง อาจเป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์)ได้ ใช่หรือไม่ 4. คนติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์) จากยุงกัดได้ ใช่หรือไม่ 5. การกินอาหารร่วมกับคนติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์) สามารถติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์) ได้ 6. การมีเพศสัมพันธ์กับคู่รักที่น่าไว้วางใจ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยสามารถติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์)ได้ ใช่หรือไม่ 8.เอดส์รักษาได้ คือ การรักษาตามอาการของโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับผู้ติดเชื้อเอชไอวี(เอดส์) ใช่หรือไม่ (หมายเหตุ : ข้อ 1-7 ตามตัวชี้วัดของ UNGASS)

32 ค่าเฉลี่ย ตอบถูก UNGASS 78.99%
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเอดส์หลังอบรม % (หมายเหตุ : ข้อ 1-7 ตามตัวชี้วัดของ UNGASS) ค่าเฉลี่ย ตอบถูก UNGASS 78.99%

33 เหตุผลที่เอดส์เป็นปัญหาของในเรือนจำ
การอยู่ร่วมกัน แออัด อยู่ร่วมกันหมู่มาก เครียด กดดันทางอารมณ์ การดูแลไม่ทั่วถึง การคัดแยกผู้ป่วยเป็นไปด้วยความลำบาก เป็นปัญหาทางสังคม เป็นนโยบาย มีโรคฉวยโอกาส เช่นวันโรคแพร่สู่คนอื่น ขาดความรู้ความเข้าใจ ปฏิบัติไม่ถูกต้อง รังเกียจผู้ติดเชื้อ ขาดการยอมรับ มีการรักร่วมเพศ ใช้เข็มร่วมกัน มีบาดแผล ติดเชื้อจากภายนอกแล้วมีพฤติกรรมเสี่ยงในเรือนจำ

34 เหตุผลที่คิดว่าเอดส์เป็นปัญหาของในเรือนจำ
โรคเอดส์เป็นโรคติดต่อ รักษาไม่หาย เป็นภาระในการดูแลรักษาและสิ้นเปลืองงบประมาณ ไม่รู้ว่าใครเป็นบ้าง อาการไม่ปรากฏ จนท.ไม่เข้าใจในการปฏิบัติต่อผู้ป่วย พฤติกรรมการเบี่ยงเบนการมีเพศสัมพันธ์ ห่างไกลจากคู่ ความใกล้ชิด ไม่มีความรู้ ไม่ป้องกัน การเข้าไม่ถึงการรักษา การใช้อุปกรณ์สักต่าง ๆ ปัญหาเรื่องยาเสพติด ใช้เข็มร่วมกัน

35 เหตุผลที่เอดส์เป็นปัญหาของในเรือนจำ
ผู้ต้องขังติดเชื้อเอดส์จากภายนอก เมื่อเข้ามาแล้วมีรักร่วมเพศกัน ทำให้เกิดการแพร่เชื้อได้ ผู้ต้องขังที่ติดเชื้อมีจำนวนมาก มีการแยกขัง ถูกรังเกียจ และที่เป็นโรคเอดส์ ร่างกายอ่อนแอ อาจเป็นวัณโรคและสามารถแพร่เชื้อในเรือนจำได้ ผู้ต้องขังป่วยต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง เป็นภาระของเรือนจำ สิ้นเปลื้องงบประมาณ ผู้ต้องขัง ไม่ยอมตรวจเลือด ไม่เปิดเผยตนเอง ไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา ทำให้การรักษายังไม่ทั่วถึง สถานที่แออัด

36 กลุ่มเสี่ยงเอดส์ในเรือนจำ
ผู้ต้องขังที่เป็นวัณโรค กลุ่มรักร่วมเพศ เช่น หญิงรักหญิง กลุ่มที่เมื่ออยู่ภายนอกเรือนจำมีการเสพยา / ผู้ต้องขังติดยา / สามีเป็นผู้เสพยา ผู้ต้องขังที่สัมผัสกับเลือดของผู้ติดเชื้อโดยไม่รู้ตัว เช่น ผู้ต้องขังที่ช่วยงานสถานพยาบาล บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ผู้ต้องขังกลุ่มสักยันต์ ผู้ต้องขังกลุ่มที่ขัดแย้งกัน ผู้ต้องขังวัยรุ่นที่อยากลอง ผู้ต้องขังผู้สูงอายุที่ไม่มีความรู้ อ่านหนังสือไม่ออก ผู้ต้องขังกลุ่มที่ขายบริการ สำส่อน ผู้ต้องขังเข้าใหม่ ผู้ต้องขังกลุ่มที่มีปัญหาด้านสุขภาพ และครอบครัว

37 ปัญหาอุปสรรคด้านเอดส์ที่ยังแก้ไม่สำเร็จ
ผู้ติดเชื้อไม่ให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหา ไม่กล้าตรวจเลือด ไม่เปิดเผยตนเอง ไม่ใส่ใจเรื่องการปฏิบัติตนเอง ไม่ยอมรับว่าตนเองติดเชื้อ ผู้ต้องขังไม่ใส่ใจในการเรียนรู้ ขาดความรู้ ได้รับรู้ข่าวสารน้อยมาก ไม่มีถุงยางมือ ถุงยางชาย หญิง ทัศนะคติของผู้ต้องขังต่อโรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การมีเพศสัมพันธ์ ยังเป็นเรื่องน่าอาย

38 ส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเอดส์ของ จนท.ราชทัณฑ์
จัดอบรมผู้ต้องขัง สามารถให้คำปรึกษากับผู้ต้องขังเกี่ยวกับโรคเอดส์ได้ หาแนวร่วมแกนนำผู้ต้องขัง แนะนำให้ผู้ต้องขังสำรวจความเสี่ยง และแนะนำให้ตรวจเลือด ประชาสัมพันธ์ จัดหา จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องเอดส์ สื่อ หนังสือ เกี่ยวกับโรคเอดส์ให้ผู้ต้องขังศึกษา วิธีการสังเกตพฤติกรรมเสี่ยงในกลุ่มผู้ต้องขัง สามารถป้องกันตนเองจากโรคเอดส์ได้ ให้ความรู้เรื่องโรค การอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อ ผลกระทบ คนใกล้ชิด สามี ลูก หลาน

39 ข้อเสนอการดำเนินงานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ต่อยอดในระยะถัดไป

40 ปรึกษา Expert กรณีซับซ้อน
ข้อเสนอดำเนินงานต่อยอดในระยะถัดไป พัฒนาระบบการตรวจรักษาผู้ป่วยเอดส์ระหว่างโรงพยาบาลกับเรือนจำผ่านระบบ telemedicine ร่วมกับกรมราชทัณฑ์และสำนักโรคเอดส์ ฯ ร.พ.พุทธ ฯ ปรึกษา Expert กรณีซับซ้อน การตรวจไม่ซับซ้อน เรือนจำ

41 ลดงานการรักษาความปลอดภัยขอเรือนจำ
ควรพัฒนาระบบการตรวจรักษาผ่านระบบ telemedicine ข้อดี ผู้ป่วยเอดส์ที่ต้องขังและผู้คุมไม่ต้องออกจากเรือนจำเพื่อไปตรวจที่โรงพยาบาล ลดงานการรักษาความปลอดภัยขอเรือนจำ แพทย์สามารถให้การตรวจรักษาระยะไกลได้ใกล้เคียงกับการตรวจจริง

42 ลดค่าใช้จ่ายการพาผู้ต้องขังป่วยเอดส์ไปพบแพทย์
พัฒนาระบบการตรวจรักษาผ่านระบบ telemedicine ข้อดี ลดค่าใช้จ่ายการพาผู้ต้องขังป่วยเอดส์ไปพบแพทย์ พัฒนาทักษะพยาบาลเรือนจำให้สามารถดูแลผู้ป่วยเอดส์ไม่ซับซ้อนด้วยตนเอง

43 ข้อข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและแนวทางการพัฒนา
ควรมีการสนับสนุนด้านต่างอย่างต่อเนื่องเช่น การสนับสนุนทางด้านวิชาการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการถ่ายทอดเชื้อ การป้องกันและการเข้าถึงบริการตรวจเลือดและการักษาอย่างทันท่วงที การสนับสนุนด้านเวชภัณฑ์เช่นถุงมือเพื่อการคัดกรองผู้ป่วยแรกรับ ยาและเวชภัณฑ์กรณีเกิดโรคระบาดและอุบัติภัยเช่น โรคหัด ตาแดง อุจจาระร่วง น้ำท่วม ซึ่งถ้าเกิดการะบาดจะต้องอาศัยหน่วยงานเครือข่ายเพื่อช่วยในการควบคุมป้องกัน สนับสนุนสื่อและแผ่นพับข้อมูลข่าวสารเพื่อการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การสนับสนุนเพื่อตรวจเลือดโดยสมัครใจแกผู้ต้องขังเพราะได้รับความสนใจจากผู้ต้องขังในการดูแลสุขภาพ การสนับสนุนเรื่องการป้องกันโดยถุงยางอนามัย เป็นนโยบายของเรือนจำแต่ละแห่งซื่งจะมีข้อจำกัดและการสนับสนุนที่แตกต่างกันเนื่องจากผู้ขังไม่นำถุงยางไปใช้เพื่อการป้องกันแต่ใช้เพื่อบรรจุสิ่งผิดกฏหมายเรือนจำบางแห่งจึงไม่แจกถุงยางอนามัย มีบางแห่งที่สามรถแจกได้

44 แนวทางการดำเนินงาน ระบบส่งต่อบริการในกรณีเครือข่ายพบการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มประชากรเปราะบาง ตางด้าว ไร้สิทธิ แนวทางการช่วยเหลือ มีการช่วยเหลือผู้ต้องขังกรณีไม่มีสิทธิ เช่นกรณีผู้ต้องขังไม่มีบัตรเนื่องจากญาติเก็บไว้และไม่สามารถตามได้เจ้าหน้าที่ก็อำนวยความสะดวกในการคัดทะเบียนและสิทธิบัตรจากอำเภอ เพื่อใช้สิทธิในการรับยา และประสานกับโรงพยาบาลในพื้นที่เพื่อรับยาให้ผู้ต้องขัง และกรณีผู้ต้องขังที่พ้นโทษแล้วไม่สะดวกในการรับยาเจ้าหน้าที่ก็ประสานรับยาแทนเพื่อให้ผู้ป่วยมารับยาที่เรือนจำ ในส่วนของผู้ต้องขังที่ไร้สิทธิแต่ยังไม่ถึงเกณฑ์รับยาก็ดูแลตามอาการและส่งเสริมเรื่องการป้องกันและดูแลตนเอง หรือให้ผู้ต้องขังซื้อบัตรประกันสุขภาพต่างด้าว หรือข้อความอนุเคราะห์เป็นรายกรณีไป

45 กิจกรรมนิเทศ สนับสนุนการดำเนินงานของเรือนจำ
โดย สคร การติดตามงานวัณโรค การสนับสนุนสื่อ เอกสารประชาสัมพันธ์ในการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ สนับสนุนเวชภัณฑ์ กรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น น้ำท่วม เกิดโรคระบาด

46


ดาวน์โหลด ppt Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google