งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดเลย วันที่ 18-20 กุมภาพันธ์ 2558

2 ประเด็นการตรวจราชการ 1.ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด 1.2 มีการคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับระดับจังหวัด 1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตาม ประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวัง และให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 1.ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด แต่งตั้งอนุกรรมการฯ คบส. ระดับเขต มีคำสั่งแต่งตั้ง องค์ประกอบ ครบถ้วน มีการประชุม วิเคราะห์ปัญหา ระดับเขต ผลิตภัณฑ์ สถานพยาบาล สุขภาพและ สิ่งแวดล้อม จัดทำยุทธศาสตร์ และดำเนินการ แผน ยุทธศาสตร์ คบส.เขต การดำเนินการ ตามแผนฯ ผลการดำเนินงาน

4 1.2 มีการคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงานเพื่อพัฒนา ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับระดับจังหวัด ….. - คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดเลย ประธาน -ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย ฝ่ายเลขานุการ - หัวหน้าสำนักงานจังหวัดเลย

5 แผนงาน/โครงการสำคัญ เพื่อแก้ไขปัญหา คบส. ของจังหวัดเลย โครงการตรวจสอบเฝ้าระวังสถานประกอบการ/ผลิตภัณฑ์ ก่อนและหลังได้รับอนุญาต เป้าหมายสถานพยาบาล/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ/สถานประกอบการดำเนินการ ได้รับการตรวจสอบและผ่านเกณฑ์ตามกำหนดใน KPI template ของจังหวัดเลย ตัวชี้วัด.....วัดระดับความสำเร็จเป็น 5 ระดับตาม KPI template... แนวทางการพัฒนา ยกระดับมาตรฐาน - โครงการเฝ้าระวังตามแนวชายแดน 7 อำเภอ - ทำ KPI และ KPI template ให้ระดับอำเภอดำเนินงาน งบประมาณสนับสนุนและผู้รับผิดชอบ จาก สป. และ อย.

6 จำนวนสถานที่ผลิต เกลือบริโภคเสริม ไอโอดีน ของ จังหวัดเลย จำนวน...-..... แห่ง เป้าหมาย (A) (จำนวนที่เก็บ ตย.) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนที่ผ่านมาตรฐาน) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x100 --- 1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตาม ประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) จังหวัดเลย ไม่มีสถานที่ผลิตเกลือ แต่ได้มีการส่งตัวอย่างน้ำปลาผสมไอโอดีน จำนวน 2 ตัวอย่าง เพื่อตรวจวิเคราะห์ อยู่ระหว่างรอผลการตรวจวิเคราะห์

7 การเฝ้าระวังสื่อ โฆษณาของ จังหวัดเลย 1.สื่อวิทยุ....21..... 2.เคเบิ้ลทีวี.............. 3.สิ่งพิมพ์............... 4.อื่นๆ................... เป้าหมาย (A) (จำนวนสื่อโฆษณา ที่พบการกระทำผิด) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนสื่อโฆษณา ที่ได้รับการจัดการ) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x100 2121100 1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาล ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) -

8 1) ร้อยละของคลินิก เวชกรรมที่ให้บริการ ด้านเสริมความงาม ได้รับการตรวจ มาตรฐาน เป้าหมาย (A) (จำนวนคลินิกเวชกรรมที่ ให้บริการด้านเสริมความงาม) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนคลินิกเวชกรรมที่ ให้บริการด้านเสริมความงามที่ ได้รับการตรวจสอบ) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x100 66100 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวัง และให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) 2) ร้อยละของเรื่อง ร้องเรียนคลินิกที่ ไม่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการ สถานพยาบาลได้รับ ดำเนินการตาม กฎหมาย เป้าหมาย (A) (จำนวนเรื่องร้องเรียน) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนเรื่องร้องเรียนที่ได้รับ การดำเนินการ ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x10011100

9 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและ คลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวัง และให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) (ต่อ) ดำเนินการแก้ไขปัญหาคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ สถานพยาบาล ได้รับดำเนินการตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ ดำเนินการแก้ไขปัญหาคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ สถานพยาบาล ได้รับดำเนินการตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้ ระยะเวลา ๓๐ วันทำการ ได้แก่ เรื่องที่ทางหน่วยงานมีการเฝ้าระวังและ ตรวจพบว่าการกระทำความผิดนั้น เข้าข่ายผิดกฎหมาย และมีหลักฐาน ข้อมูล ชัดเจนครบถ้วน สามารถรวบรวมข้อเท็จจริง โดยไม่ต้องหา หลักฐานเพิ่มเติม จำนวน 1 แห่ง ระยะเวลา ๓๐ วันทำการ ได้แก่ เรื่องที่ทางหน่วยงานมีการเฝ้าระวังและ ตรวจพบว่าการกระทำความผิดนั้น เข้าข่ายผิดกฎหมาย และมีหลักฐาน ข้อมูล ชัดเจนครบถ้วน สามารถรวบรวมข้อเท็จจริง โดยไม่ต้องหา หลักฐานเพิ่มเติม จำนวน 1 แห่ง

10 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

11 ประเด็นการตรวจราชการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ( อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่ กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ สาธารณสุขจังหวัด คณะอนุฯ ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน หัวหน้าส่วน ราชการในจังหวัด ตัวแทนอปท. ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็น อนุกรรมการ นพ. สสจ. เป็นอนุกรรมการและเลขาฯ หัวหน้ากลุ่มงาน อนามัยสิ่งแวดล้อม สสจ. และ ผู้รับผิดชอบงานกฎหมายสาธารณสุข สสจ. เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขาฯ คำสั่งลงนามโดยปลัดประทรวงสาธารณสุข ผลการดำเนินงาน ของจังหวัด

12 ประเด็นการตรวจราชการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ( อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่ กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. จังหวัดได้ดำเนินการคัดเลือก / สรรหาคณะอนุกรรมการสาธารณสุข จังหวัดเรียบร้อยแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องและ จัดทำคำสั่ง เสนอแต่งตั้ง 2. สถานการณ์ด้านสุขภาพ ความเสี่ยงในพื้นที่ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และ ข้อร้องเรียนจากเหตุรำคาญในพื้นที่มียังมีปัญหาในหลายประเด็น ได้แก่ สุขาภิบาลอาหาร ตลาดสด 1 จำนวน 23 แห่ง ผ่านเกณฑ์ตลาดสด น่าซื้อระดับดีมาก 2 แห่ง ระดับดี 21 แห่ง ร้านอาหาร / แผงลอย 1,213 แห่ง ผ่านเกณฑ์ CFGT 1,051 แห่ง ร้อยละ 86.65 ผ่านเกณฑ์ CFGT plus 1 แห่ง การเฝ้าระวังและควบคุมน้ำบริโภค มีตู้น้ำหยอดเหรียญ 34 แห่ง มี ฉลากถูกต้อง 4 แห่ง ยังไม่มีการตรวจคุณภาพน้ำ วิเคราะห์สถานการณ์และความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของ จังหวัด

13 ประเด็นการตรวจราชการ คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ( อสธจ.) ทุกจังหวัดดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่ กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านการจัดการขยะติดเชื้อมี รพท./ รพช. 14 แห่ง รพ. สต. 127 แห่ง มีขยะติดเชื้อ 345 กก./ วัน กำจัดโดยการให้เอกชนนำไปกำจัด มีการ ใช้เอกสารกำกับติดตามทุกแห่ง ( มีเอกสารส่งกลับ จำนวน 13 แห่ง ) ด้านการใช้กฎหมาย มี อปท. จำนวน 100 แห่ง มี อปท. ออก ข้อกำหนดท้องถิ่นตาม พรบ. สาธารณสุข 2535 จำนวน 92 แห่ง แต่ยังไม่ ครอบคลุมทุกหมวด เรื่องร้องเรียนมีจำนวน 6 เรื่อง แก้ไขเรียบร้อยแล้ว 5 เรื่อง อยู่ระหว่างการแก้ไข 1 เรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์และความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของ จังหวัด ( ต่อ )

14 ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google