งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทำงานเชิงวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทำงานเชิงวิเคราะห์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทำงานเชิงวิเคราะห์
เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรเชี่ยวชาญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2 ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภททั่วไป ชำนาญงาน ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ปฏิบัติงาน 6 ปวช 5 ปวท 4 ปวส

3 ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ชำนาญงาน 6 -
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภททั่วไป ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญงานพิเศษ ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ชำนาญงาน 6 -

4 ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ปฏิบัติการ 6 4 โท 2 เอก
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะวิชาชีพเฉพาะ ชำนาญการ ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ปฏิบัติการ 6 4 โท 2 เอก

5 ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ชำนาญการ 4 -
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญ เฉพาะวิชาชีพเฉพาะ ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ชำนาญการ 4 -

6 ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ชำนาญการพิเศษ 3 -
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาชีพเฉพาะเชี่ยวชาญ ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข ชำนาญการพิเศษ 3 -

7 ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข เชี่ยวชาญ 2 -
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะวิชาชีพเฉพาะ เชี่ยวชาญพิเศษ ตำแหน่ง จำนวนปี เงื่อนไข เชี่ยวชาญ 2 -

8 ผลงานแสดงความ ชง ชก ชช 1.ชำนาญงาน-ทำคู่มือปฏิบัติงาน
2.ชำนาญงานพิเศษ-ทำทำคู่มือปฏิบัติงานและ งานเชิงวิเคราะห์ 3.ชำนาญการ-ทำคู่มือปฏิบัติงาน และงานเชิงวิเคราะห์ เชิงสังเคราะห์ งานวิจัย 4.ชำนาญการพิเศษ-งานเชิงวิเคราะห์ งานเชิงสังเคราะห์ และ งานวิจัย ผลงานลักษณะอื่น

9 ผลงานแสดงความ ชง ชก ชช 5.เชี่ยวชาญ-งานเชิงวิเคราะห์ งานเชิงสังเคราะห์ งานลักษณะอื่น และ งานวิจัยเผยแพร่ในระดับชาติ/นานาชาติ 6. เชี่ยวชาญพิเศษ-งานเชิงวิเคราะห์ งานเชิงสังเคราะห์ งานลักษณะอื่น และ งานวิจัยเผยแพร่ในระดับชาติ/นานาชาติ

10 การแต่งตั้งตำแหน่ง ชง ชก ชช
1.ประเมินตีค่างาน 2.ผลสัมฤทธิ์ของงานในตำแหน่งที่ครองอยู่ 3.ความรู้ความสามารถในระเบียบราชการ ความรู้ความสามารถ ในกฎหมายที่ใช้ในงาน 4.ทักษะภาษาอังกฤษ/การใช้คอมพิวเตอร์/คำนวณ/การจัดการข้อมูล 5.สมรรถนะ ตามลักษณะงาน 6.ผลงาน-คู่มือ งานวิเคราะห์ งานสังเคราะห์ งานวิจัย ผลงานลักษณะอื่น 7.การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุนบริหารสังคม 8.การเป็นที่ยอมรับในงานด้านนั้น ๆ /ในวงวิชาการหรือวิชาชีพ

11 การแต่งตั้งตำแหน่ง ชง ชก ชช
9. จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 9.1 ไม่ลอกผลงานของผู้อื่น ไม่เผยแพร่ผลงานลงในวารสารเกินกว่า 2 ฉบับที่ทำให้เข้าใจว่าเป็นผลงานใหม่ 9.2 ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา 9.3 ไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล 9.4 ใช้หลักวิชาชีพเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติข้ามาเกี่ยวข้อง 9.5 ต้องนำไปใช้ประโยชน์ที่ชอบด้วยกฎหมาย

12 ความหมายของการวิเคราะห์
ผลงานที่แสดงการแยกแยะองค์ประกอบต่างๆ ของเรื่องอย่างมีระบบ มีการศึกษาในแต่ละองค์ประกอบ และหาความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่องานของหน่วยงานหรือสถาบันอุดมศึกษา

13 งานวิเคราะห์เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเชิงสำรวจ
วิทยาศาสตร์ Scientific Method ความรู้ความจริง Reliable Knowledge ความเชื่อถือได้ Reliable Method การคงสภาพ Stable ความน่าจะเป็น ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ Probabilistic Low of Nature

14 งานวิจัยเชิงสำรวจคือ
เป็นการศึกษาเพื่อหาความรู้ความจริงในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยใช้วิธีสำรวจและอธิบายข้อเท็จจริงต่าง ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไร เป็นลักษณะกว้าง ๆ ทำให้ทราบข้อเท็จจริงเป็นแนวทางในการวางแผน การปรับปรุงแก้ไข สิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้น แบ่งออกเป็น 5 ประเภท

15 งานวิจัยเชิงสำรวจ 5 ประเภทคือ
สำรวจโรงเรียน School Survey วิเคราะห์งาน Job Analysis วิเคราะห์เอกสาร Documentary Analysis สำรวจประชามิติ Public Opinion Survey สำรวจชุมชน Community Survey

16 วิเคราะห์งาน Job Analysis
1. งานที่มีปัญหา/งานไม่บรรลุผลสำเร็จ 2. งานมีข้อสงสัย อยากรู้อยากทราบ 3. งานที่เจ้านายสั่ง

17 การวิเคราะห์เอกสาร Documentary Analysis
หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข แบบฟอร์ม พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หนังสือเวียน มติที่ประชุม คำสั่งระบบไอที ขั้นตอน (นำมาวิเคราะห์ดูว่า ล่าสมัย ไม่สอดคล้องเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน เกิดความล่าช้า ทำให้ผู้รับบริการไม่ได้รับความพึงพอใจ ฯลฯ)

18 วัตถุประสงค์ของงานเชิงวิเคราะห์
1.เพื่อศึกษาตรวจสอบ 2.เพื่อการตีความทำความเข้าใจ 3.เพื่อการหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล 4.เพื่อการสืบค้นหาความจริง 5.เพื่อหาข้อสรุป/ประเมินตัดสินใจ

19 หน้าที่ของงานเชิงวิเคราะห์
1.เพื่อแจกแจงให้รู้ว่าสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร 2.เพื่อแยกแยะความแตกต่างให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น แยกองค์ประกอบตัวแปร-แยกหมวดหมู่ จัดลำดับความสำคัญ 3.เพื่อค้นหาเหตุและผลของสิ่งที่เกิดขึ้น เชื่อมโยงกันอย่างไร-คาดการณ์ในอนาคต

20 ประโยชน์ของงานเชิงวิเคราะห์
1.ศึกษาปัญหาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้น 2.เพื่อหาสาเหตุของปัญหา 3.เพื่อหาแนวทางแก้ไขหรือป้องกันปัญหา 4.เสนอแนวทางการทำงานที่มีคุณภาพ

21 วิธีทำงานวิเคราะห์ เอาข้อมูล(3-5 ปีย้อนหลัง)จากปริมาณงาน/ภาระงานที่ปฏิบัติจริงมาจัดหมวดหมู่แล้ววิเคราะห์ เรียกว่าวิเคราะห์บริสุทธิ์ Pure Analysis ออกเป็นแบบสอบถามแล้วนำข้อมามาวิเคราะห์ เรียกว่าวิเคราะห์กึ่งวิจัย Research Analysis

22 วิธีทำงานวิเคราะห์ 3.ทำการวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคผังก้างปลา และระดมสมอง
4. ทำการวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคเดลฟลาย 5. ทำการวิเคราะห์ โดยใช้การเปรียบเทียบ

23 จะทำงานวิเคราะห์อย่างไร
การวิเคราะห์คือการค้นหาความจริง ในทุกแง่ทุกมุมของสิ่งใดสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือหลายอย่าง(เปาปุ้นจิ้น) ตั้งคำถามเชิงวิเคราะห์ แบบ 3 มิติ 1.มิติความกว้าง ใคร(Who) อะไร(what) ที่ไหน(where)เมื่อไร(when)

24 จะทำงานวิเคราะห์อย่างไร
2.มิติความลึก อย่างไร(how) เพราะเหตุได(why) 3.มิติความไกล ถ้าเกิด จะเป็นอย่างไร ถ้าไม่เกิดจะเป็นอย่างไร (if……then)

25 จะทำงานวิเคราะห์อย่างไร
ตั้งคำถามเชิงวิเคราะห์ แบบโสเครตีส(Socratic questions) 1.คำถามเพื่อความกระจ่าง 2.คำถามเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน 3.คำถามเพื่อพิสูจน์การใช้เหตุผล 4.คำถามเพื่อท้าทาย 5.คำถามเพื่อหาผลที่ตามมา

26 จะทำงานวิเคราะห์อย่างไร
1.ได้ข้อมูล-ต้องตีความข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำความเข้าใจ แยกแยะ แจกแจงองค์ประกอบเพื่อให้เห็นภาพรวม หาความแตกต่างของข้อมูล 2.หาเหตุและผลเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นเพื่อหาความจริง 3.ประเมินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ เพื่อการตัดสินใจ ถ้าเลือกเป็นอย่างไร ถ้าไม่เลือกเป็นอย่างไร มีข้อดี มีข้อเสีย/มีประโยชน์หรือคุ้มค่าหรือไม่อย่างไร

27 เทคนิคการทำงานวิเคราะห์ 1
มีข้อมูล(3-5 ปีย้อนหลัง)จากปริมาณงาน/ภาระงานที่ปฏิบัติจริงมาจัดหมวดหมู่แล้ววิเคราะห์แบบ Pure Analysis ว่ามีอะไรบ้าง 1.ตั้งชื่อเรื่องวิเคราะห์ 2.อยากจะทราบ/ต้องการรู้อะไรบ้าง 3.หาค่าร้อยละ เปอร์เซ็น แสดงรูปกราฟ

28 เทคนิคการทำงานวิเคราะห์ 2
วิเคราะห์แบบกึ่งวิจัย Research Analysis 1.ตั้งชื่อเรื่องวิเคราะห์ (เหมือนงานวิจัย) 2.อยากจะทราบ/ต้องการรู้อะไรบ้าง 3.หาค่าสถิติอย่างง่าย ค่าเฉลี่ย

29 เทคนิคการทำงานวิเคราะห์ 3
ทำการวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคผังก้างปลา และระดมสมอง 1.ตั้งชื่องานวิเคราะห์ 2.กำหนดวัตถุประสงค์ 3.ต้องแสดงแผนภูมิผังก้างปลาที่ได้จากการระดมสมอง

30 เทคนิคการทำงานวิเคราะห์ 4
ทำการวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคเดลฟลาย 1.ตั้งชื่อเรื่องงานวิเคราะห์ 2.กำหนดวัตถุประสงค์ 3.หาค่าความสอดคล้อง/หาค่าความเหมาะสม โดยใช้จำนวนที่เห็นด้วย /ไม่เห็นด้วย และเหมาะสม/ไม่เหมาะสม จากผู้เชี่ยวชาญ

31 เทคนิคการทำงานวิเคราะห์ 5
ทำการวิเคราะห์ โดยใช้การเปรียบเทียบ 1.ตั้งชื่องานวิเคราะห์เปรียบเทียบ 2.กำหนดวัตถุประสงค์ 3.หาค่าร้อยละ แสดงรูปกราฟ

32 Concept งานเชิงวิเคราะห์
1. ทำไมจึงวิเคราะห์เรื่องนี้มีปัญหา/สำคัญ/อยากรู้ อยากทราบ/จำเป็นอย่างไร 2. มีทฤษฎี แนวคิด ผลวิจัย ผลการวิเคราะห์ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องอย่างไรบ้าง 3. มีระบบแยกแยะองค์ประกอบอย่างๆไร มีการตีความข้อมูลวิเคราะห์ให้กระจ่างอย่างไร หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลอย่างไร มีสาเหตุที่แท้จริงของเรื่องที่เกิดขึ้น(หลักฐานรองรับ) 4.มีผลการวิเคราะห์อย่างไร 5.มีการสรุปผลการวิเคราะห์ วิพากษ์การวิเคราะห์ ให้ข้อเสนอแนะ อย่างไร

33 งานเชิงวิเคราะห์ 1.ต้องเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย 2. ต้องวางโครงเรื่องทำการเชิงวิเคราะห์ เหมือนงานวิจัย 3. ต้องนำเสนอรายละเอียดเนื้อหา เหมือนงานวิจัย 4. ต้องมีระบบแยกแยะองค์ประกอบการวิเคราะห์ 5.หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ และค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น 6.ต้องมีการสรุปผลการวิเคราะห์ วิพากษ์การวิเคราะห์ ให้ข้อเสนอแนะ 7. ไม่ต้องไปตั้งสมมุติฐานและพิสูจน์ว่าแตกต่างไม่แตกต่าง

34 โครงร่างงานวิจัย *บทที่ 1 บทนำ *บทที่ 2 เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง
*บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิเคราะห์ *บทที 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล *บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ *บรรณานุกรม *ภาคผนวก

35 โครงร่างของงานเชิงวิเคราะห์
แบบที่ 1 เหมือนงานวิจัย แบบที่ 2 แบบคุณภาพ

36 แบบเหมือนงานงานวิจัย
*บทที่ 1 บทนำ *บทที่ 2 เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง *บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิเคราะห์(การแยกแยะองค์ประกอบ/การตีความข้อมูล/หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล/หาสาเหตุที่แท้จริงของแต่ละองค์ประกอบ-หลักฐานรองรับ) *บทที 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล *บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ *บรรณานุกรม *ภาคผนวก

37 วิเคราะห์แบบคุณภาพ *บทที่ 1 บทนำ *บทที่ 2 เอกสารงานที่เกี่ยวข้อง
*บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิเคราะห์(ระบบแยกแยะองค์ประกอบ/ตีความข้อมูล/หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล/หาสาเหตุที่แท้จริงขององค์ประกอบ-หลักฐานรองรับ)และการทำงานอย่างมีคุณภาพ *บทที 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการทำงานที่มีคุณภาพ *บทที่ 5 สรุปผลการวิเคราะห์และการทำงานที่มีคุณภาพ วิพากษ์ และ ข้อเสนอแนะ *บรรณานุกรม *ภาคผนวก

38 เทคนิคการเขียนบทที่ 1 1.Deductive Style กล่าวหลักการทั่วไป ทฤษฎีพื้นฐาน ความคิดเห็นของผู้รู้ผู้เล่นในเรื่องนั้น ๆ ต้องมีการอ้างอิง แล้ววกมาหาปัญหาที่วิเคราะห์ (ทฤษฎี –ปัญหา) 2.Inductive Style กล่าวถึงตัวปัญหา จากประวัติความเป็นมาของปัญหา มูลเหตุจูงใจ ข้อค้นพบจะนำไปสู่หลักการหรือจะใช้ในกรณีใด ตามด้วยหลักการทั่วไป ทฤษฎี ความคิดเห็นของผู้รู้ผู้เล่นในเรื่องที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการอ้างอิง(ปัญหา-ทฤษฎี)

39 เทคนิคการเขียนบทที่ 1ย่อหน้าสุดท้าย
จากเหตุผลความจำเป็นดังกล่าวข้างต้น หรือ ผู้วิเคราะห์เล็งเห็นความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าวข้างต้น จึงทำการศึกษาวิเคราะห์ (ชื่อเรื่อง) เพื่อศึกษาปัญหา หาสาเหตุของปัญหา และเพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหา หรือ เพื่อเปรียบเทียบกับสถาบันอุดมศึกษา หรือเพื่อเปรียบเทียบหับหน่วยงานเอกชนที่ประสบความสำเร็จ(เหมือนการวิงผลัดรับไม่ส่งไม้ต่อกัน เพื่อส่งไม้ต่อในการเขียนวัตถุประสงค์การวิเคราะห์)

40 เทคนิคการเขียนวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ เขียนจากย่อหน้าสุดท้ายที่กำหนดว่าเพื่อทำอะไร(1.เพื่อศึกษาปัญหา 2.เพื่อหาสาเหตุของปัญหา 3.เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา) หรือ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกับสถาบันอุดมศึกษา หรือ เพื่อเปรียบเทียบกับหน่วยงานเอกชนที่ประสบความสำเร็จ

41 เทคนิคการเขียนประโยชน์ของการวิเคราะห์
ประโยชน์ของการวิเคราะห์ เขียนจากล้อกับวัตถุประสงค์ (1.ได้มีความรู้ความเข้าใจในปัญหา 2.ได้มีความรู้ความเข้าใจถึงหาสาเหตุของปัญหา 3.ได้แนวทางแก้ไขปัญหา) หรือ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น หรือ ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยงานเอกชนที่ประสบความสำเร็จ

42 เทคนิคการเขียนขอบเขตของการวิเคราะห์
ขอบเขตของการวิเคราะห์ ต้องกำหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ ให้ชัดเจน เพื่อการนำไปอ้างอิงผิด และเพื่อตรวจสอบในการดำเนินการว่าทันสมัยหรือไม่ ครอบคลุมในเนื้อหาหรือไม่

43 เทคนิคการเขียนนิยามศัพท์เฉพาะ
นิยามศัพท์เฉพาะ จำเป็นต้องมีเพื่อให้เข้าใจตรงกันว่าสิ่งนี้หมายถึงอะไร จะได้ไม่ต้องไปเขียนในเนื้อความให้ยืดยาว อาจสร้างความสับสนได้ กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น คืออะไร ตัวแปรตามคืออะไร จะได้นำเสนอตารางในบทที่ 4

44 การทบทวนวรรณกรรมบทที่ 2
เข้าที่Google คำสำคัญของเรื่องที่วิเคราะห์ ค้นคว้าตำรา หนังสือ ผลงานวิจัย ปริญญานิพนธ์ ผลงานแปล เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน บทความทางวิชาการ ปาฐกถา เทศนา สุนทรพจน์ สื่อโสตทัศน์ศึกษา รายการโทรทัศน์ วีดีโอ พจนานุกรม สารานุกรม สื่ออีเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

45 การทบทวนวรรณกรรมบทที่ 2
การทบทวนวรรณกรรมทำให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินการต่าง ๆ การสร้างเครื่องมือ การวิเคราะห์ การนำเสนอ ปัญหาการดำเนินการ การทำซ้ำกับคนอื่น ช่วยให้การทำการวิเคราะห์น่าเชื่อถือ

46 เทคนิคการเขียนบทที่ 2 1.สรุปข้อเห็นพ้องหรือขัดแย้ง ให้เห็นถึงความเข้าใจปัญหากว้างขวาง 2.เสนอเรียงลำดับความสำคัญ ลำดับเนื้อเรื่อง ลำดับเวลา เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน

47 เทคนิคการเขียนบทที่ 2 3.ไม่ใช่ยกข้อความมาวางเรียงต่อกัน ต้องศึกษาสรุปเอาข้อเท็จจริงของข้อความในเอกสารหรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสัมพันธ์กับปัญหาที่จะทำการวิเคราะห์

48 เทคนิคการเขียนบทที่ 3 1.แบ่งออกเป็นตอน ๆ ว่าข้อมูลเอามาอย่างไร
2.แยกแยะองค์ประกอบอย่างไร 3.ใช้วิธีใด ทำการวิเคราะห์ พร้อมทฤษฎี

49 เทคนิคการเขียนบทที่ 3 กรณี 1
1. ต้องบอกว่าจะเอาข้อมูลอะไรมาวิเคราะห์ 2. เอาข้อมูลมาอย่างไร ต้องอ้างอิงแหล่งข้อมูล 3. จะแยกแยะองค์ประกอบ(ข้อมูล)อย่างมีระบบ อย่างไร 4. ตีความข้อมูลให้กระจ่างอย่างไร

50 เทคนิคการเขียนบทที่ 3 กรณี 1
5. หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลอย่างไร 6. หาสาเหตุที่แท้จริงของเรื่องที่เกิดขึ้นแต่ละองค์ประกอบ-หาหลักฐานรองรับ 7. ใช้ค่าร้อยละ แสดงผลการวิเคราะห์รูปกราฟ

51 เทคนิคการเขียนบทที่ 3 กรณี 2
1. ต้องบอกว่าจะวิเคราะห์ โดยใช้เทคนิคผังก้างปลา(บอกทฤษฏีผังก้างปลา) และใช้เทคนิคระดมสมอง(บอกทฤษฏีระดมสมอง) 2. หรือจะใช้เทคนิคผังรากไม้ ด้วยวิธีเดลฟลาย (ก็ต้องบอกทฤษฏีผั้งรากไม้ /ทฤษฏีของเดลฟลาย) 3. จะแยกแยะองค์ประกอบ(ข้อมูล)อย่างมีระบบ อย่างไร 4. ตีความข้อมูลให้กระจ่างอย่างไร

52 เทคนิคการเขียนบทที่ 3 กรณี 3
1. ใช้เทคนิคการทำงานอย่างมีคุณภาพ ด้วยทฤษฏีอะไร ก็ต้องอ้างอิงทฤษฏีนั้นใว้ในบทที่ 3 ว่าหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดว่าต้องทำอย่างไร

53 กรณีไม่มีปริมาณงาน ใช้เทคนิคต่างๆ
1.ใช้ผังก้างปลา โดยการใช้เทคนิคระดม 2.ใช้ผังก้างปลา โดยใช้เทคนิคเดลฟลาย 3.ใช้ผังรากไม้ โดยใช้เทคนิคระดมสมอง 4.ใช้ผังรากไม้ โดยใช้เทคนิคเดลฟลาย

54 การหาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
1.ใช้ผังก้างปลา โดยการใช้เทคนิคระดม 2.ใช้ผังก้างปลา โดยใช้เทคนิคเดลฟลาย 3.ใช้ผังรากไม้ โดยใช้เทคนิคระดมสมอง 4.ใช้ผังรากไม้ โดยใช้เทคนิคเดลฟลาย

55 หาความสัมพันธ์และหาสาเหตุที่แท้จริง
5. การเปรียบเทียบ Comparative 6. หลักการ Benchmarking 7. เทคนิคทางกฎหมาย 8. เกณฑ์มาตรฐาน 9. SWOT 10. สถิติอย่างง่าย

56 วิธีการทำผังกางปลา 1. กำหนดปัญหาที่หัวปลา
2. ระดมสมอง/เดลฟลาย ศึกษาปัญหานั้นว่าเกิดจากอะไร(คน/ขั้นตอน/ข้อกำหนด/เงิน/อุปกรณ์/บริหาร/หลักเกณฑ์/แบบฟอร์ม/เอกสาร/การจัดองค์กร/IT /กลยุทธ์ 4M )

57 ศึกษาปัญหา หาสาเหตุของปัญหา แนวทางแก้ไข ต้องมาจากระดมมอง/เดลฟลาย
วิธีการทำผังกางปลา 3. ระดมสมอง/เดลฟลาย ปัญหานั้นมาจากอะไร เป็นการหาสาเหตุของปัญหา จากผู้รู้ผู้เล่นโดยตรง 4. ระดมสมอง/เดลฟลาย จะมีแนวทางแก้ปัญหานั้นอย่างไร ศึกษาปัญหา หาสาเหตุของปัญหา แนวทางแก้ไข ต้องมาจากระดมมอง/เดลฟลาย

58 Who-what-where-why-when-How
ผังรากไม้ *ใช้การวิเคราะห์แบบ Why-Why-Treeวิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าของปัญหา แล้วตั้งเป็นคำถามไปเรื่อย ๆ ว่าทำไม ใช้หลัก 5W1H Who-what-where-why-when-How

59 ระดมสมอง BRAIM STORMING- ระดมสมองกลุ่มที่สนใจ Focus Group 6-12 ภายใต้การเลือกเฉพาะเจาะจง Purposive Sampling

60 เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
ข้อสังเกตระดมสมอง *ค่าใช้จ่ายเวลา ทรัพยากร ปรัชญา/วิธีการทำงาน เชิงบวกต่อผู้บริหาร เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ

61 เดลฟลาย Delphi Technique ผู้เชี่ยวชาญ ไม่น้อยกว่า 17 คน แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ กลั่นกรองความคิดอย่างรอบครอบ ปราศจากการชี้นำ อาจจะต้องสร้างเป็นแบบสอบถามปลายเปิด-ประมาณค่า

62 เดลฟลาย 1.ถามคำถามปลายเปิดว่าปัญหานี้มีอย่างไรบ้าง ถามแบ 3 มิติ และแบบ โสเครตีส 2.สร้างคำถามปลายปิดเป็นตัวเลือกว่าเกิดจากอะไรบ้าง 3.ส่งแบบสอบถามกลับให้ผู้เชี่ยวชาญตอบ 4.ส่งแบบสอบถามให้ผู้ตอบไม่เข้ากลุ่มยืนยันความเห็นอีกครั้ง 5.นำแบบสอบถามมาหาค่าความเหมาะสม/ความสอดคล้อง

63 1. หาค่าความเหมาะสม 2. หาค่าความสอดคล้อง
เดลฟลาย 1. หาค่าความเหมาะสม 2. หาค่าความสอดคล้อง

64 COMPARATIVE 1.เปรียบเทียบลักษณะวิเคราะห์
1.1. เปรียบเทียบทุกแง่ทุกมุม-ข้อดี/ข้อเสีย/ระบบ/ขั้นตอน/การวางกฎเกณฑ์ฯลฯ 1.2.สร้างตารางนำเสนอข้อมูลเปรียบเทียบ /กราฟ 1.3.เคราะห์ผลการเปรียบเทียบ แนวโน้มจะเป็นอย่างไร /เทียบกันเฉยให้รู้ว่าเป็นอย่างไร 1.4.วิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ

65 COMPARATIVE 2. เปรียบเทียบลักษณะสร้างสรรค์
2.1. ดึงลักษณะเด่น/ข้อดี ออกมาเปรียบเทียบ /ระบบ การบริหาร/ขั้นตอน/เครื่องมือ 2.2.จัดทำตาราง/กราฟ แสดงผลการเปรียบเทียบ 2.3.วิเคราะห์ผลการเปรียบเทียบ/วางไว้เฉย ๆให้รู้ว่าของใครเป็นอย่างไร 2.4.วิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ

66 (ต้องประเมิน 4 ด้าน เชื่อมโยงให้สอดคล้องเข้ากับวิสัยทัศน์และกลยุทธ์)
Balanced Scorecard Professor Robert Kaplan และ Dr. Norton สำรวจตลาดหุ้นอเมริกา ประเมินตัวชี้วัดด้านการเงินเพียงตัวเดียว (ต้องประเมิน 4 ด้าน เชื่อมโยงให้สอดคล้องเข้ากับวิสัยทัศน์และกลยุทธ์) 1.ด้านการเงิน FINACIAL PERSPECTIVE 2.ด้านลูกค้าCUSTOMER PERSPECTIVE 3.ด้านกระบวนการINTERNAL PROCESS PERSPECTIVE 4.ด้านการเรียนรู้และพัฒนาLEANING AND GROWTH PERSPECTIVE

67 เปรียบเทียบ ของเขา-ของเรา เปรียบเทียบ ความเหมือน ความต่าง
Benchmarking เปรียบเทียบ ของเขา-ของเรา เปรียบเทียบ ความเหมือน ความต่าง 1. กระบวนการทำงาน 2. การจัดองค์กร 3. กลยุทธ์ 4. ปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการทำงานและการให้บริการ

68 SWOT ใช้เทคนิคระดมสมองเข้าช่วยแยกแยะองค์ประกอบ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก มองจากข้างนอกเข้าข้างใน โอกาส(O) อุปสรรค(T) ภายในมองข้างในไปข้างนอก จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W)

69 SWOT S- O มีจุดแข็งมีโอกาส จะทำอะไร O-W โอกาสไปปิดจุดอ่อน ทำอย่างไร
S- T มีจุดแข็งจะแก้อุปสรรค อย่างไร W-T มีจุดอ่อน มีอุปสรรค จะป้องกันอย่างไร จะเสริมสร้างจุดอ่อนอย่างไร เขียนโครงการนำเสนอในการแก้ปัญหา

70 เกณฑ์การวิเคราะห์ ตามกฎหมาย
พ.ร.บ./กฤษฎีกา/ราชกิจจานุเบกษา ข้อบังคับ/ระเบียบ ประกาศ/มติหนังสือเวียนฯลฯ

71 เกณฑ์การวิเคราะห์ ตามกฎหมาย
วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3-5 ปี ว่าผลการปฏิบัติงาน เป็นไปตาม กฎหมายที่กำหนดไว้หรือไม่ เพราะเหตุใด โดยการนำเสนอ ในรูปกร๊าฟ ร้อยละ ฯลฯ

72 เกณฑ์การวิเคราะห์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน
เกณฑ์ประกาศโดยสภา เป็นเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงาน กำหนดเป็นKPI ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานที่ทำความตกลงล่วงหน้า

73 เกณฑ์การวิเคราะห์ ตามกฎหมาย
วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3-5 ปี ว่าผลการปฏิบัติงาน เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐานKPIที่กำหนดไว้หรือไม่ เพราะเหตุใด โดยการนำเสนอ ในรูปกร๊าฟ ร้อยละ ฯลฯ

74 1. หลักวงจรPDCA 2. หลัก Six Sigma
การทำงานแบบมีคุณภาพ 1. หลักวงจรPDCA 2. หลัก Six Sigma

75 ค.ศ. 1930 การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ วงจร STEWART
การทำงานแบบมีคุณภาพ ค.ศ การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ วงจร STEWART ค.ศ W. Edwards Deming วงจร Deming พัฒนาด้านการบริหารคุณภาพ ความสัมพันธ์ 4 ฝ่ายในการทำธุรกิจ “คุณภาพและความพึงพอใจของลูกค้า” ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย ฝ่ายวิจัย

76 การทำงานแบบมีคุณภาพ พัฒนาให้เข้ากับวงจรการบริหาร
ขั้นการวางแผน ขั้นปฏิบัติ ขั้นตรวจสอบ ขั้นดำเนินการให้เหมาะสม(ขั้นการปรับปรุงแก้ไข) *แพร่หลายที่ ญี่ปุ่น วงจร PDCA การบริหารจัดการควบคุมคุณภาพ คือ การวางแผน( Plan) ปฏิบัติ( Do) ตรวจสอบผลลัพธ์ ( Check) กำหนดมาตรการแก้ไข ( Action)

77 การทำงานแบบมีคุณภาพ วิธีการ PDCA มีการวางแผนปฏิบัติหรือไม่ P
กำหนดแนวทางปรับปรุงอย่างไร ประเมิน/ตรวจสอบหรือไม่ C ประเมินแนวทางแก้ไข การแก้ไข จัดเป็นมาตรฐานหรือไม่ บันทึกผลการปฏิบัติงาน A วิเคราะห์ศึกษาใหม่

78 *งานไม่เป็นไปตามมาตรฐานเพียง 3-4 ชิ้นในงาน 1 ล้านชิ้น
SIX SIGMA *งานไม่เป็นไปตามมาตรฐานเพียง 3-4 ชิ้นในงาน 1 ล้านชิ้น * เป็นกลยุทธ์ของฝ่ายบริหารในการพัฒนาคุณภาพ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด ลดความสูญเสีย ที่ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจน้อยที่สุด

79 SIX SIGMA *1.ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลางในการแก้ปัญหา
*2.บริหารจัดการใช้ข้อมูล ใช้ข้อเท็จจริง *3.มุ่งเน้นที่กระบวนการ *4.จัดการเชิงรุก แก้ปัญหาเชิงรุกไม่ใช่ตั้งรับ *5.แก้ปัญหาแบบไร้พรหมแดน ข้ามสายงาน ทำร่วมกันเป็นทีม

80 SIX SIGMA *6.ผู้นำบริหารงานเชิงกลยุทธ์ มุ่งเน้นผลลัพธ์ของงาน
*7.ใช้นวัตกรรม ปรับปรุงผลงาน *8.ความคิดสร้างสรรค์ สร้างผลงาน *9.มุ่งความเป็นเลิศ มีโครงการปรับปรุงงานต่าง ๆ *10.พัฒนาแบบไม่หยุดยั้ง กำหนดตัวชี้วัดที่สร้างความพึงพอใจลูกค้า

81 ตรวจสอบครั้งสุดท้าย 1.ความชัดเจนของปัญหา/วัตถุประสงค์
2.เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3.วิธีการดำเนินการวิเคราะห์ 4.การเสนอผลการวิเคราะห์ 5.การสรุปผลและวิพากษ์ 6.คุณค่า/ประโยชน์

82 ติดต่อผู้บรรยาย sathien@swu.ac.th sathienkameesak@gmail.com


ดาวน์โหลด ppt การทำงานเชิงวิเคราะห์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google