งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
จังหวัด วันที่ 7-9 ธันวาคม 2559

2 วิสัยทัศน์ วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิต
ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ และเป็นแบบอย่างที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม

3 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทาง การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) 1.วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม 2.วัยรุ่นมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม 3.วัยรุ่นอยู่ในครอบครัวอบอุ่น 4.ชุมชนมีมาตรการทางสังคมและเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 1.ศธ. จัดการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษา 2. สธ. สนับสนุนวิชาการ และให้บริการที่เป็นมิตรแก่ วัยรุ่นตามมาตรฐาน 3. อปท. ออกเทศบัญญัติของท้องถิ่นตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง 4. พม. ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการและสวัสดิการ 5. สนง.สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สนับสนุน ให้สถานประกอบการ ให้ข้อมูลข่าวสาร การเข้าถึง บริการและการส่งต่อ 6. หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/ประชารัฐ/สนับสนุนและ บูรณาการงานร่วมกัน ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) 1.มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ 2. มีระบบการติดตามและประเมินผลที่เป็น แนวทางเดียวกัน 3. มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่าย 4. มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) 1. ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ 2. บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ 3. องค์กรมีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ

4 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจังหวัด...........
ปี วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ และเป็นแบบอย่างที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม และมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม -ส่งเสริมความรู้ และทักษะให้วัยรุ่น -ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของวัยรุ่น -สร้างความตระหนักให้วัยรุ่นรู้คุณค่าตนเอง ครอบครัวอบอุ่นมีความรู้ในการเลี้ยงลูกวัยรุ่น -สร้างครอบครัวต้นแบบ -ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว -ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะการสื่อสารในครอบครัว ชุมชนมีมาตรการทางสังคมและเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น -สร้างมาตรการทางสังคม -สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น -สร้างความตระหนักและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ระดับประชาชน (Valuation) ศธ. จัดการเรียนการ สอนเรื่องเพศวิถีศึกษา - จัดการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษา - พัฒนาศักยภาพผู้สอนเพศวิถีศึกษา - จัดระบบการดูแลช่วยเหลือ สธ.สนับสนุนวิชาการ และให้บริการที่เป็น มิตรแก่วัยรุ่นตาม มาตรฐาน - ให้ข้อมูลข่าวสารความรู้ - จัดให้บริการคำปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐาน อปท. ออกเทศบัญญัติของ ท้องถิ่นตามหลัก เกณฑ์ และเงื่อนไขที่กำหนดใน กฎกระทรวง - สนับสนุนทรัพยากร - สร้างการมีส่วนร่วม - สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตวัยรุ่น - ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น พม. ส่งเสริมและ สนับสนุนวิชาการและ สวัสดิการ - สนับสนุนกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชน - ส่งเสริม สนับสนุนการเฝ้าระวัง การช่วยเหลือวัยรุ่น ครอบครัวของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน - จัดสวัสดิการต่างๆ สนง.สวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัด สนับสนุนและจัด สวัสดิการช่วยเหลือ สนับสนุนการเข้าถึงข้อมูลความรู้ จัดให้มีระบบการให้ความ ช่วยเหลือครบวงจร มีระบบส่งต่อให้ได้รับสวัสดิการ สังคม - หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน/ประชา รัฐ/สนับสนุนและ บูรณาการงาน ร่วมกัน -จัดกิจกรรม/สนับสนุน - สร้างการมีส่วนร่วม (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบการติดตามและ ประเมินผลที่เป็นแนวทาง เดียวกัน พัฒนาระบบติดตามประเมินผล -แต่งตั้งคกก.ติดตามประเมินผล -วิเคราะห์ข้อมูลและพัฒนาการดำเนินงาน มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ - สร้างการมีส่วนร่วม ในการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สร้างข้อตกลงร่วมกัน (MOU) มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม - ส่งเสริมการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้ ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย พัฒนาสื่อสาธารณะ สร้างเครือข่ายสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมการสร้างคลังความรู้ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม ระดับกระบวนการ บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -สร้างเครือข่ายการดำเนินงานทุกระดับ มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาศูนย์ข้อมูล -พัฒนาระบบสารสนเทศ -พัฒนาบุคลากร มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมการดำเนินงานแบบบูรณาการ -สร้างข้อตกลงร่วมกัน (MOU) -พัฒนาเครือข่ายองค์กร ระดับ พื้นฐาน

5 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นฉบับปฏิบัติการ(SLM)
ภายในปี พ.ศ.2561 วัยรุ่นมีความสามารถในการป้องกันการตั้งครรภ์ ชุมชนมีมาตรการทางสังคม และเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรม ในวัยรุ่น -สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น KPI : ทุกตำบลมีเครือข่ายเฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น วัยรุ่นอยู่ในครอบครัวอบอุ่น -ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และ ทักษะการสื่อสารในครอบครัว KPI :ทุกตำบลมีครอบครัวต้นแบบ 15 วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมที่ เหมาะสม และมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม -ส่งเสริมความรู้ และทักษะให้วัยรุ่น KPI : รร.ทุกแห่งมีแกนนำวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน 14 16 ระดับประชาชน(Valuation) 13 หน่วยงานภาครัฐและเอกชน/ ประชารัฐ/สนับสนุนและ บูรณาการงานร่วมกัน -สร้างการมีส่วนร่วม KPI :มีแผนบูรณาการร่วมกันระหว่าง ภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 12 พม. ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการและ สวัสดิการ -ส่งเสริม สนับสนุนการเฝ้าระวัง การช่วยเหลือวัยรุ่น ครอบครัวของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน KPI : มีระบบดูแลช่วยเหลือ ส่งต่อวัยรุ่นและครอบครัว 11 สนง.สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัด สนับสนุนและจัดสวัสดิการ ช่วยเหลือ -จัดให้มีระบบให้ความช่วยเหลือครบวงจร KPI :สถานประกอบการมีระบบการดูแล ช่วยเหลือ ศธ. จัดการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษา -พัฒนาศักยภาพผู้สอนเพศวิถีศึกษา KPI :ทุกโรงเรียนมีครูผู้สอนเพศวิถีศึกษา 8 9 ระดับภาคี(Stakeholder) สธ.สนับสนุนวิชาการแลให้บริการ ที่เป็นมิตรแก่วัยรุ่นตามมาตรฐาน -จัดให้บริการคำปรึกษาและบริการอนามัย การเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐาน KPI :คลินิกบริการที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นผ่านเกณฑ์มาตรฐาน อปท. ออกเทศบัญญัติของ ท้องถิ่นตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่กำหนดในกฎกระทรวง -ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น KPI : อปท.มีเทศบัญญัติท้องถิ่น 10 มีระบบการบริหารจัดการภาคีเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนแบบบูรณาการ KPI : ทุกอำเภอมีข้อตกลงร่วมกัน 5 มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม KPI : มีนวัตกรรมอย่างน้อยจังหวัดละ 1-2 เรื่อง 7 มีระบบการสื่อสารที่เป็นรูปธรรม -สร้างเครือข่ายสื่อสารประชาสัมพันธ์ KPI : ทุกระดับมี DJ teen ทุกท้องถิ่นมีกิจกรรมอย่างน้อย 1 กิจกรรม 6 ระดับกระบวนการ มีระบบการติดตามและประเมินผล ที่เป็นแนวทางเดียวกัน แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผล KPI :มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4 มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ KPI : มีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ 3 มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาศูนย์ข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ KPI :มีศูนย์ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลครบถ้วนทันสมัย 2 บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีสมรรถนะแบบมือ อาชีพ KPI : บุคลากรมีสมรรถนะแบบมืออาชีพ 1 ระดับพื้นฐาน

6 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับประชาชน วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและ พฤติกรรมที่ เหมาะสม และ มีการรวมกลุ่ม ทำกิจกรรม ส่งเสริมความรู้ และทักษะให้ วัยรุ่น อบรมแกนนำ วัยรุ่นให้ความรู้ และทักษะใน การป้องกันการ ตั้งครรภ์ จัดตั้งกลุ่ม เพื่อนช่วยเพื่อน ในโรงเรียน/ สถาน ประกอบการ/ ชุมชน โรงเรียนทุก แห่งมีแกนนำ วัยรุ่นและกลุ่ม เพื่อนช่วยเพื่อน สถานศึกษา สาธารณสุข พมจ. อปท. 6

7 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับประชาชน วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง ครอบครัวอบอุ่นมีความรู้ในการเลี้ยงลูกวัยรุ่น ส่งเสริม กิจกรรมด้าน ความรู้และ ทักษะการ สื่อสารใน ครอบครัว อบรมให้ความรู้ และทักษะการ สื่อสารเรื่อง เพศใน ครอบครัว จัดกิจกรรม สร้าง สัมพันธภาพใน ครอบครัว “ทุก วันอาทิตย์เป็น วันครอบครัว” ประกวด คัดเลือก ครอบครัว ต้นแบบ ทุกตำบลมี ครอบครัว ต้นแบบ อปท. พมจ. สาธารณสุข 7

8 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับประชาชน วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง ชุมชนมี มาตรการทาง สังคมและ เครือข่ายเฝ้า ระวัง พฤติกรรมใน วัยรุ่น สร้างเครือข่าย เฝ้าระวัง พฤติกรรมใน วัยรุ่น ทำประชาคม หมู่บ้าน เกี่ยวกับปัญหา พฤติกรรมเสี่ยง ทางเพศและ มาตรการทาง สังคมในวัยรุ่น แต่งตั้ง คณะทำงานจิต อาสาเฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง พัฒนา ศักยภาพ เครือข่ายเฝ้า ระวังพฤติกรรม เสี่ยง ทุกตำบลมี เครือข่ายเฝ้า ระวังพฤติกรรม เสี่ยงในวัยรุ่น อปท. พมจ. สาธารณสุข ตำรวจ วัฒนธรรม สถานศึกษา 8

9 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง ศธ. จัดการ เรียนการสอน เรื่องเพศวิถี ศึกษา พัฒนา ศักยภาพผู้สอน เพศวิถีศึกษา ประชุมเชิง ปฏิบัติการ พัฒนาครูผู้สอน เพศวิถีศึกษา ประชุมเชิง ปฏิบัติการ บุคลากรที่มึ ความสำคัญใน การผลักดันให้มี การจัด กระบวนการ เรียนรู้เพศวิถี ศึกษา นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงาน ทุกโรงเรียนมี ครูผู้สอนเพศวิถี ศึกษา เขตพื้นที่ การศึกษา ประถม/ มัธยมศึกษา โรงเรียนใน สังกัด 9

10 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง สธ.สนับสนุน วิชาการและ ให้บริการที่เป็น มิตรแก่วัยรุ่น ตามมาตรฐาน จัดให้บริการคำปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐาน รพ.ทุกแห่งมี บริการที่เป็น มิตรสำหรับ วัยรุ่นตาม มาตรฐาน -ขยายคลินิกสู่ รพ.สต. ให้คำปรึกษา/ ความรู้ -บริการ คุมกำเนิด เยี่ยมพัฒนา หน่วยบริการ -ประเมิน มาตรฐานคลินิก -การจัดการ ความรู้ คลินิกบริการที่ เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน สาธารณสุข สถานศึกษา ท้องถิ่น พมจ. 10

11 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง สื่อสาร/ส่งเสริม ความร่วมมือ ระหว่างภาค เครือข่าย/ กลุ่มเป้าหมายให้ สามารถเข้าถึง บริการ/คลินิกที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่น -พัฒนาศักยภาพ ผู้เกี่ยวข้อง -ประชาสัมพันธ์ ช่องทางการ ให้บริการ -เผยแพร่ความรู้ วิชาการ -คืนข้อมูลให้ เครือข่าย -ศึกษาวิจัย 11

12 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง อปท. ออกเทศ บัญญัติของ ท้องถิ่นตาม หลัก เกณฑ์ และเงื่อนไขที่ กำหนดใน กฎกระทรวง ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ออกข้อบัญญัติ เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม พฤติกรรม เสี่ยง/พื้นที่ เสี่ยง กำหนด มาตรการทาง สังคมที่ เกี่ยวข้องกับ การป้องกัน/ แก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น พัฒนาความรู้ ของเยาวชนใน พื้นที่ สนับสนุนสื่อ/ อุปกรณ์ สร้างตำบล ต้นแบบวัยรุ่น อปท.มีเทศ บัญญัติท้องถิ่น อปท. ท้องถิ่นจังหวัด สถานศึกษา สาธารณสุข พมจ. 12

13 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง พม. ส่งเสริม และสนับสนุน วิชาการและ สวัสดิการ ส่งเสริม สนับสนุนการ เฝ้าระวัง การ ช่วยเหลือวัยรุ่น ครอบครัวของ หน่วยงาน ภาครัฐและ เอกชน โครงการ เยาวชนร่วมใจ ป้องกันและ แก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ไม่ พร้อมในวัยรุ่น โครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ “นักจัดรายการ วิทยุรุ่นเยาว์” (DJ TEEN) โครงการ เสริมสร้าง ความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับ การตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น มีระบบดูแล ช่วยเหลือ ส่งต่อ วัยรุ่นและ ครอบครัว พมจ. ศพค. บพด. 13

14 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง พัฒนาศักยภาพ บุคลากร บพด. เพื่อปรับทัศนคติ เชิงบวกและฐาน คิดมุมมองต่อ ปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โครงการพัฒนา ศักยภาพ อพม. ในการเฝ้าระวัง ปัญหาและ ประสานงานส่งต่อ การตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น จัดทำคู่มือ แนวทางช่วยเหลือ แก่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ อย่างครบวงจร 14

15 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง โครงการ พัฒนา ศักยภาพ ทีมสหวิชาชีพ ในการให้ความ ช่วยเหลือวัยรุ่น ที่ตั้งครรภ์ 15

16 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง สนง.สวัสดิการ และคุ้มครอง แรงงานจังหวัด สนับสนุนและ จัดสวัสดิการ ช่วยเหลือ จัดให้มีระบบ การให้ความ ช่วยเหลือครบ วงจร กำหนด มาตรการ รูปแบบ ดำเนินการ สำหรับสถาน ประกอบการ -ด้านการ เผยแพร่ข้อมูล ความรู้ -การให้ คำปรึกษา -การดูแล ช่วยเหลือ/ส่งต่อ -การคัดเลือก สถาน ประกอบการเข้า ร่วมโครงการ สถาน ประกอบการมี ระบบการดูแล ช่วยเหลือ แรงงานจังหวัด สวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน สาธารณสุข พมจ. บ้านพักเด็ก และครอบครัว 16

17 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง -ประชุมชี้แจง นโยบาย/ มาตรการแก่ สถาน ประกอบการ -สนับสนุนสื่อ ประชาสัมพันธ์ -จัดอบรม พัฒนาทักษะแก่ บุคลากรใน สถาน ประกอบการ -ติดตามการ ดำเนินงาน -ขยายพื้นที่ ดำเนินงาน 17

18 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง หน่วยงาน ภาครัฐและ เอกชน/ประชา รัฐ/สนับสนุน และบูรณาการ งานร่วมกัน สร้างการมีส่วนร่วม โครงการ ประกวดสื่อ สำหรับวัยรุ่น “เด็กไทยรู้เท่า ทันสื่อ” จัดทำค่าย เยาวชน อาสาสมัครเฝ้า ระวังทาง วัฒนธรรมเพื่อ สร้างภูมิคุ้มกัน ทางสังคมในมิติ วัฒนธรรม การร่วมบูรณา การแผนงาน ระหว่างองค์กร เอกชน/ภาครัฐ ในพื้นที่ มีแผนบูรณา การร่วมกัน ระหว่างภาครัฐ และเอกชนใน พื้นที่ วัฒนธรรม จังหวัด มูลนิธิ/องค์กร เอกชน ตำรวจ ประชาสัมพันธ์ พมจ. สถานศึกษา สาธารณสุข อปท. ทหาร 18

19 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับภาคี วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีการดำเนิน กิจกรรมร่วมกัน ภายในพื้นที่ จัดโซนนิ่งพื้นที่ เสี่ยงสำหรับ วัยรุ่น 19

20 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีระบบการ ติดตามและ ประเมินผลที่ เป็นแนวทาง เดียวกัน แต่งตั้ง คณะกรรมการ ติดตาม ประเมินผล แต่งตั้ง คณะกรรมการ ติดตามและ ประเมินผล วิเคราะห์ข้อมูล และพัฒนาการ ดำเนินงาน จัดเวที แลกเปลี่ยน เรียนรู้ จัดทำรายงาน สรุปผลการ ดำเนินงาน มีการประชุม คณะกรรมการ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง สสจ. พมจ. 20

21 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีระบบการ บริหารจัดการ ภาคีเครือข่าย ที่มี ประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วน ร่วม ในการ ขับเคลื่อนงาน แบบบูรณาการ จัดตั้ง คณะกรรมการ พัฒนา ศักยภาพภาคี เครือข่ายปีละ 1 ครั้ง สร้างข้อตกลง ร่วมกัน(MOU) ทุกอำเภอ มีแผนบูรณา การทุกระดับ ทุกอำเภอมี ข้อตกลงร่วมกัน สสจ. พมจ. 21

22 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีระบบการ สื่อสารที่เป็น รูปธรรม สร้างเครือข่าย สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้าง DJ Teen ในทุกระดับ จัดประชุม สื่อสารการ ป้องกันการ ตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นแก่ สื่อมวลชนทุก แขนง ท้องถิ่นจัด กิจกรรมเสียง ตามสาย/วิทยุ ชุมชน/ป้าย Cut out ใน เรื่องการ ป้องกันการ ตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น ทุกระดับมี DJ teen ทุกท้องถิ่นมี กิจกรรมอย่าง น้อย 1 กิจกรรม ประชาสัมพันธ์ จังหวัด สถานศึกษา ชุมชน/อปท. 22

23 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีนวัตกรรม/องค์ความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการ สร้างนวัตกรรม จัดเวที แลกเปลี่ยน เรียนรู้การ ป้องกันการ ตั้งครรภ์ไม่ พร้อมในแต่ละ ระดับ จัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ในชุมชน มีนวัตกรรม อย่างน้อย จังหวัดละ 1-2 เรื่อง สสจ. พมจ. 23

24 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศูนย์ข้อมูล ให้มีประสิทธิภาพ แต่งตั้ง คณะกรรมการ จัดระบบ ฐานข้อมูล ประชุมหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องเพื่อ สร้างระบบ ฐานข้อมูล โดย จำแนกประเภท และวิธีการจัดเก็บ พัฒนาโปรแกรม การจัดเก็บข้อมูล และแต่งตั้งให้มี ผู้รับผิดชอบดูแล โดยตรง รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล เผยแพร่และ สนับสนุนระบบ ฐานข้อมูล มีศูนย์ข้อมูลที่มี ประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูล ครบถ้วนทันสมัย สาธารณสุข ศธ. พม. มท. อปท. สวัสดิการฯ 24

25 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง บุคลากรมี สมรรถนะแบบมือ อาชีพ พัฒนาศักยภาพ บุคลากรให้มี สมรรถนะแบบมือ อาชีพ อบรมให้ความรู้ และทักษะ จัดทำคู่มือและ แนวทางการ ทำงาน จัดเวทีและ เปลี่ยนเรียนรู้ ติดตามสนับสนุน ให้คำปรึกษา สาธารณสุข ศธ. พม. มท. อปท. สวัสดิการฯ 25

26 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์ /ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรม สำคัญ ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบ หลัก หน่วยงาน รับผิดชอบ รอง มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบ บริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ จัดทำข้อตกลง (MOU)ร่วมกัน ระหว่างภาคี เครือข่าย สร้างองค์ความรู้ และทักษะในการ ดำเนินงานร่วมกัน จัดทำคู่มือและ แนวทางการ ดำเนินงาน จัดเวทีและ เปลี่ยนเรียนรู้ มีระบบบริหาร จัดการที่มี ประสิทธิภาพ สาธารณสุข ศธ. พม. มท. อปท. สวัสดิการฯ องค์กรเอกชน และภาคี เครือข่าย 26


ดาวน์โหลด ppt แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google