งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ
ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ( มีนาคม 2556) DK DK ห้วยดีกะ (เหนือโรงแต่งแร่) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ <0.01 ตะกอนดินท้องน้ำ 248 - ปลา 0.054 – 0.084 กุ้ง < หอย 5.876 × KC 1 เหนือโรงแต่งแร่ประมาณ 0.5 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ <0.01 ตะกอนดินท้องน้ำ 171 - ปลา 0.018 – 0.054 กุ้ง < ปู 0.312 หอย 0.868 KC 2 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 0.1 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ <0.01 ตะกอนดินท้องน้ำ 5,564 - ปลา 0.02 กุ้ง 0.067 ปู 3.58 × หอย 9.31 พืชผักสวนครัว 0.04 – 4.025 พืชไร่ 0.11 ดินธรรมชาติ 276 – 4,200 KC 3 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 2.5 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.039 ตะกอนดินท้องน้ำ 127,700 - ปลา × กุ้ง 0.012 หอย 30.203 KC 4 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 4.5 กม. (ฝายหินทิ้งแห่งที่ 1) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.017 ตะกอนดินท้องน้ำ 6,045 - ปลา กุ้ง 0.376 สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม คุณภาพน้ำในลำห้วยคลิตี้ทุกจุดมีค่าตะกั่วอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ส่วนปริมาณตะกั่วในตะกอนดินท้องน้ำตั้งแต่บริเวณใต้โรงแต่งแร่ลงมายังมีการปนเปื้อนตะกั่วในระดับสูง พืชผักมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอาหาร ดินธรรมชาติส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานยกเว้นบริเวณ ใกล้โรงแต่งแร่ ส่วนสัตว์น้ำจำพวกปลา และกุ้ง ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน ยกเว้นปู และหอย KC 4/1 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 8 กม. (ฝายหินทิ้งแห่งที่ 2) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.029 ตะกอนดินท้องน้ำ 38,742 - ปลา 0.213 กุ้ง 3.856 × KC 5 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 12 กม. (บ้านคลิตี้ล่าง) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.023 ตะกอนดินท้องน้ำ 19,276 - ปลา กุ้ง 0.282 ปู 0.202 พืชผักสวนครัว 0.003 – 0.836 พืชไร่ 0.003 ดินธรรมชาติ 45 – 108 KC 6 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 15 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.020 ตะกอนดินท้องน้ำ 19,498 - ปลา 0.131 – 0.227 กุ้ง 0.113 หอย 103.41 × KC 7 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 18 กม. (หน่วยดูแลอุทยาน) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.027 ตะกอนดินท้องน้ำ 40,843 - ปลา 0.167 กุ้ง 0.365 หอย 188.99 × KC 8 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 19 กม. (น้ำตกคลิตี้ล่าง) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.039 ตะกอนดินท้องน้ำ 17,134 - ปลา 0.140 กุ้ง 0.299 หอย 23.431 × หมายเหตุ - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน กำหนดให้มีค่าตะกั่ว ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2535) - ยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานตะกั่วในตะกอนดินท้องน้ำ - เกณฑ์มาตรฐานอาหารให้มีสารปนเปื้อน (น้ำหนักเปียก) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2529) - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพดินที่ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยและเกษตรกรรม ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 25 (พ.ศ.2547) - พืชผักสวนครัว ได้แก่ ตำลึง กระถิน พลู ตะไคร้ กระเพรา ยี่หร่า ถั่วฝักยาว มะเขือเปราะ พริก ใบมะกรูด ชะอม ยอดฝักทอง ใบมะกรูด มะเขือพวง ผักชีฝรั่ง โหระพา มะนาว ข่า ผักกูด ยอดมะระหวาน มะเขือเทศ - พืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวไร่ - ppm = น้ำ มีหน่วยเป็น มิลลิกรัมต่อลิตร ตะกอนดินท้องน้ำ สัตว์น้ำ พืชผัก และดินธรรมชาติ มีหน่วยเป็น มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม


ดาวน์โหลด ppt ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google