งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 22 กันยายน 2558 ณ ห้องประชุมอิมพีเรียล บอลลรูม โรงแรมดิเอ็มเพลส เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 22 กันยายน 2558 ณ ห้องประชุมอิมพีเรียล บอลลรูม โรงแรมดิเอ็มเพลส เชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 22 กันยายน 2558 ณ ห้องประชุมอิมพีเรียล บอลลรูม โรงแรมดิเอ็มเพลส เชียงใหม่

2 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อ สนับสนุน พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย พัฒนาระบบ บริการสุขภาพ ๓ ประเด็นยุทธศาสตร์ ขอบเขตการนำเสนอ สถานการณ์ การดำเนินงานที่ผ่านมา ปัญหาอุปสรรค แนวทางการดำเนินงาน

3 กลุ่มวัยแม่และเด็ก

4 จำนวนมารดาคลอด แยกรายจังหวัด ในเขตสุขภาพที่ 1 ตั้งแต่ปี 2552 – 2558(6 m.) 2552255325542555255625572558 6 m เชียงใหม่18,90116,20412,61414,22714,18715,0977,865 เชียงรย11,79212,64913,28013,11014,14814,2905,339 ลำปาง4,9345,2204,9262,623*4,7304,5382,085 น่าน4,0113,9504,0044,3034,1753,9802,065 พะเยา3,2942,9543,5493,8113,6753,5431,654 แม่ฮ่องสอน2,5512,7432,3893,9053,1313,0141,113 ลำพูน3,3153,3213,3673,8113,4433,4251,683 แพร่2,33332973,3243,3443,0233,0031,573 เขต 1 51,13150,348 47,453 48,70450,51250,89023,377

5 อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ในเขตสุขภาพที่ 1 ตั้งแต่ พ. ศ.2550 - 2557 จากระบบรายงาน MCH เขต ฯ 1;HPC 10 CM.

6 ปัญหาการเข้าถึง บริการฝากครรภ์ -วัยรุ่น -วัยทำงาน(เขต อุตสาหกรรม (ลพ./ลป./ชม.) -ทำงานต่าง จว. -พท.สูง ห่างไกล -พท.ชายแดน -เชิงรุก โดย อสม. /FCT -ANC นอกเวลา(รพ.ช.) -เพิ่มวัน ANC ใน รพ. สต.(มส. /บางอำเภอใน ลป.)

7 ข้อมูลจากรายงาน ตก.2 ปี 2558 เขต ฯ 1 มารดาตาย ใน เขตฯ 1 ปี 2553 – 2558 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

8 สาเหตุการตาย ของมารดาในเขต ฯ 1 จำนวนการตาย แยกตามสาเหตุ(ราย) 255225532554255525562557 2558 6 m. รวม สาเหตุทางตรง(direct Causes) ตกเลือดหลังคลอด6423312 21 ติดเชื้อ112--127 ความดันโลหิตสูงและ eclampsia-211228 การคลอดติดขัด(Obstructed Labor)-----1 1 Antepartum hemorrhage11 2 น้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด (Amniotic Fluid embolism) 231-2-19 สาเหตุทางตรงอื่นๆเช่นตั้งครรภ์นอกมดลูก ครรภ์ไข่ปลาอุกฯ 211--- 4 สาเหตุทางอ้อม(Indirect Causes) โรคมาลาเรีย เบาหวาน SLE CHF Hepatitis314231216 แท้ง2----- 2 รวม(ราย)1612116107870

9 มารดาตาย(maternal death) สาเหตุหลัก คือ ตกเลือดหลังคลอด(postpartum hemorrhage) medical condition มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น(ต้องคัดกรองความเสี่ยง และ จัดการความเสี่ยง ตั้งแต่ช่วงตั้งครรภ์) การแก้ไขปัญหา โดยกลไก MCHB จังหวัด - ขาดมาตรการแก้ไขปัญหา(ไม่ใช้ข้อมูลจาก MM conference) ทุกจังหวัดมี CPG แต่..ในภาวะฉุกเฉิน ไม่ได้ปฏิบัติตาม ข้อจำกัดด้านทักษะ/ประสบการณ์ จนท. (จบใหม่ /คลอดน้อย) พื้นที่เสี่ยง คือ พื้นที่สูงห่างไกลและพื้นที่ติดชายแดน ปัญหาการเข้าถึงบริการฝากครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ต่างด้าวมาใช้บริการคลอด มากขึ้น (จ.น่าน จ.เชียงราย จ. แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่ จ.พะเยา)

10 ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน (Birth Asphyxia ; BA) ในเขต 1 ปีงบฯ58 (ต.ค.57 - มี.ค.58) ข้อมูลจากรายงาน ตก.2 ปี 2558 เขต ฯ 1 ปัญหาใน รพ.จังหวัด/รพ.แม่ข่าย การรับส่งต่อ case เสี่ยงจาก รพ.ช.ลูกข่าย BA ในกลุ่ม Refer มีระดับความรุนแรงสูง เสี่ยงต่อทุพพลภาพและเสียชีวิต เขตพื้นที่สูงห่างไกล วิเคราะห์จากโปรแกรม TCDIP เป็นปัจจัยด้านการคลอดและการทำคลอด 44.63% ปัญหา LR คุณภาพ : man/material/process

11 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม แยกรายจังหวัด ปีงบประมาณ 2558 (6-9 m.) สาเหตุทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย(LBW) เกิดก่อนกำหนด(preterm) ≈ 50% เจริญเติบโตช้าในครรภ์(IUGR) ≈ 50% ระดับเขต โครงการป้องกัน preterm ให้ progesterone ในกลุ่มเสี่ยง (รอการโอน งปม.) ข้อมูลจากระบบรายงาน MCH เขต ฯ 1;HPC 10 CM. และรายงาน ตก.2 ปี 2558

12 การดำเนินงานที่ผ่านมา ในภาพรวมเขต ใช้กลไก MCHB – SP – MCH Zone management (ยกเว้น จ.แพร่/จ.ลำพูน) -พัฒนา รพ.แม่ข่าย -Delivery center(น่าน) -พัฒนาระบบ consult – refer -พัฒนาคุณภาพบริการ ANC LR -Case conference (จังหวัด/มารดาตาย ทุกราย) -CPG (เขต) -พัฒนาแบบประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์/คลอด(ชม.) -LBW : คัดกรองความเสี่ยง U/S ให้ proges. ใน high risk /inhibition of labor (ชม. ชร. ลป.พย.) -อบรมบุคลากร(เขต/จังหวัด) -นิเทศ ติดตาม รพ.ช(เขต/จังหวัด/ลพ. : ทุก รพ.ช) ฝากครรภ์ช้า มารดาตาย ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย

13 สูติกรรม - DHS เชื่อมโยงกับ SP (สูติกรรม - DHS) 1. Early ANC (กลไก DHS) อสม./แกนนำในชุมชน/ FCT ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ใน ชุมชน/ คปสอ. กำกับติดตาม 2. Risk identification หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการประเมินความเสี่ยง ANC&LR 3. Risk management high risk preg. ได้พบสูติแพทย์ ทุกราย High of high risk preg./medical complication ทุก ราย ต้องทำคลอดโดยสูติแพทย์ ใน รพ.ที่มีความพร้อม timing ในการดูแลให้เลือดหยุด ไม่เกิน 30 นาที แผนปี 2559

14 สูติกรรม) เชื่อมโยงกับ SP (สูติกรรม) 4. ยา เวชภัณฑ์ ใช้ถุงตวงเลือด ในหญิงคลอดทุกราย(early detection) ทุก รพ.ที่มีการคลอด มียาในกลุ่ม 3rd line drug ; cytotec (The must,control system) available blood bank (The must ใน รพ.แม่ข่าย) หรือ ระบบสำรองคลังเลือด /colloid solution5.Training แพทย์จบใหม่ก่อนออก รพ.ช. ชี้แจงระบบ Consult และส่งต่อ case high risk ฝึกซ้อม จำลองสถานการณ์ ใน รพ.ช. แผนปี 2559

15 สูติกรรม เชื่อมโยงกับ SP (สูติกรรม) 6.Consult– refer ลดเกณฑ์ในการ refer ในเขตพื้นที่สูงและห่างไกล high risk pregnancy fast tract7.MCHB MCHB ระดับ จว. - นิเทศติดตาม (coaching) รพ.ช. ทุกแห่ง - MCH data sys. MCHB ระดับเขต - นิเทศติดตาม (coaching) รพ.จังหวัด - สะท้อนข้อมูล ให้ผู้บริหาร - decision making ในเชิงนโยบาย แผนปี 2559

16 โครงการบูรณาการพัฒนาการเด็ก LCDIP(TCDIP) DAIM : กลุ่มเสี่ยง LBW BA โดย เครื่องมือ DAIM : กลุ่มเด็กปกติ โดย DSPM : เครื่องมือ DSPM : การดำเนินงานของจังหวัด ในภาพรวม แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาสติปัญญาเด็กปฐมวัย จัดคลินิกส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในทุก รพ. เพิ่มวันบริการตรวจพัฒนาการเด็กแยกจาก WCC (บางแห่ง) รพ.สต.ทุกแห่ง มีมุมตรวจพัฒนาการเด็ก นิเทศ ติดตาม ในพื้นที่

17 จัดทำโครงสร้าง คณะกรรมการ ดำเนินงานฯ ระดับ เขต จังหวัด อำเภอ ( มิ.ย. – ส.ค. 58 ) จัดทำโครงสร้าง คณะกรรมการ ดำเนินงานฯ ระดับ เขต จังหวัด อำเภอ ( มิ.ย. – ส.ค. 58 ) จัดทำแผนการ ดำเนินงาน ของแต่ละ หน่วยงาน ( ก.ค. -ก.ย. 58 ) จัดทำแผนการ ดำเนินงาน ของแต่ละ หน่วยงาน ( ก.ค. -ก.ย. 58 ) ดำเนินการส่งเสริม พัฒนาการเด็ก ตามช่วงวัย ตาม มาตรฐานการ ให้บริการของแต่ ละหน่วยงาน (ต.ค.2558 เป็น ต้นไป) บันทึกข้อมูลผลการ ดำเนินงานส่งเสริม พัฒนาการเด็กใน ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม หรือ DSPM / LCDIP (เม.ย. 2558 เป็น ต้นไป) ขั้นตอนการดำเนินการ กำกับติดตามและ ประเมินผลการ ดำเนินงาน ระดับเขต/ จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล (ทุก 3 เดือน เริ่ม สค. 2558) Road Map การดำเนินงานโครงการฯ เขตสุขภาพที่ 1 พัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ต.ค. - ธ.ค. 58 ) พัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ต.ค. - ธ.ค. 58 )

18 เด็ก BA, LBW : มีพัฒนาการไม่สมวัย 29.19%, 27.85% เด็กปกติ : มีพัฒนาการไม่สมวัย 11.35% ด้านการบริหารจัดการ การเชื่อมโยงกับ sp(กุมาร จิตเวช) ยังไม่ชัดเจน (ทุกจังหวัดใช้กลไก MCHB ขับเคลื่อนงาน) WWC แออัด การกำกับ ติดตาม ในระดับ จังหวัด/อำเภอ บางแห่งยังไม่ เข้มแข็ง ด้านเครื่องมือคัดกรอง /คู่มือ ขาดแคลนคู่มือ DSPM ใช้เครื่องมือคัดกรองพัฒนาการเด็ก แบบเดิม ที่ยังไม่ได้ปรับใหม่ ด้านผู้รับบริการ ขาดความต่อเนื่อง ในการกระตุ้น พัฒนาการ  ผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญ  พื้นที่สูง ห่างไกล เข้าถึงบริการ ลำบาก  ย้าย ติดตามผู้ปกครอง ด้านผู้ให้บริการ* วิธีการตรวจพัฒนาการ ไม่ถูกต้อง ทักษะในการประเมินพัฒนาการ เด็กยังไม่แม่นยำ การให้ความสำคัญในการ ประเมินพัฒนาการเด็ก ข้อมูลจากโปรแกรม TCDIP 1 ส.ค. 57 – 30 มิ.ย. 58 ข้อมูลจาก การนิเทศติดตามโครงการ TCDIP ใน 7 จว.

19 สูติ หรือ กุมาร - DHS เชื่อมโยงกับ SP (สูติ หรือ กุมาร - DHS) 1.พัฒนาระบบริการ - จัดระบบบริการ WCC ไม่ให้แออัด - จัดกิจกรรม Parental school (PP - WCC) 2.Referral system 2.1 พัฒนาระบบติดตาม เด็กที่สงสัยล่าช้าให้ได้รับการ กระตุ้นพัฒนาการ โดย … โปรแกรม TCDIP … เชิงรุกโดย อสม./FCT 2.2 พัฒนาระบบติดตาม กรณีเด็กที่พัฒนาการล่าช้าได้รับการ วินิจฉัยและรักษา ในรพ.ทุกระดับ 3. Early child development promotion 3. Early child development promotion ใน ศพด. 4.นิเทศ ติดตาม 4.นิเทศ ติดตาม (coaching) แผนปี 2559

20 PP เขต วัสดุ อุปกรณ์ สนับสนุนชุดเครื่องมือตรวจ และคู่มือ DSPM/DAIMTraining Standardize DSPM/DAIM ใน รพ. ทุกระดับ DSPM ใน ศพด. TIDA4I ใน รพ.ช. รพ.ท. รพ.ศ ทุกแห่งMCHB monitoring & evaluation ทุก 3 เดือน data sys. สะท้อนข้อมูล ให้ผู้บริหาร decision making ในเชิงนโยบาย แผนปี 2559

21 กลุ่มเด็กวัยเรียน

22 ตัวชี้วัด/เป้าหมาย รวมชมลพลปแพร่น่านพยชรมส เด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 8.1410.509.8211.7711.864.39.86.94.2 เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มี ส่วนสูงระดับดีและรูปร่าง สมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 60.9761.8860.2960.7454.3959.1765.5160.361.57 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 95 93.9981.9910099.1310090.5210097.04100 สถานการณ์ด้านโภชนาการเด็กวัยเรียน

23 การดำเนินงาน ทุกจังหวัด : ใช้กระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดน่าน : การดึงข้อมูลรายบุคคลจากระบบ 43 แฟ้ม แยกหมู่บ้าน แยกในเขต นอกเขต, การนิเทศติดตามเสริมพลังบ่อยๆทั้งที่เป็นทางการ และไม่ทางการ ใช้ concept “กัดไม่ปล่อย” จังหวัดแม่ฮ่องสอน : การบูรณาการทุก setting และรวมตัวเป็น โซนสายเหนือและสายใต้ ขับเคลื่อน และพัฒนาศักยภาพทีมประเมิน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ ทำให้เกิด “โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร 1 แห่ง” จังหวัดเชียงราย : มีการขยายผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและ ดำเนินการแก้ไขปัญหาภาวะอ้วน ไปยังเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร จังหวัดพะเยา : การพัฒนาโรงเรียนก้าวสู่การเป็นโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับเพชร โดยครูบอกต่อเครือข่ายโรงเรียน ทีมพี่เลี้ยงเข้มแข็ง

24 1.ทุกจังหวัดมีความ ครอบคลุมของการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการต่ำกว่า เป้าหมาย (coverage 25 – 61%) บริหารจัดการข้อมูล ติดตามกระตุ้นพื้นที่ให้ ดำเนินการเฝ้าระวัง ตั้งแต่ ระยะแรกที่ รร.เปิดเทอม เก็บข้อมูลจากสถานบริการที่ เด็กมารับบริการ 2. มาตรการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่เสี่ยง ยังไม่ ชัดเจน ขาดความเชื่อมโยงการ ดูแลเด็กอ้วน ระหว่าง บ้าน – รร.- รพ.(DPAC) เพิ่มมาตรการแก้ไขปัญหาใน พื้นที่เสี่ยง เช่น จัดทำค่ายปรับเปลี่ยน พฤติกรรม การออกกำลังกาย จัดเมนูชูสุขภาพลดอ้วนใน เด็กนักเรียน ใช้กลไก DHS ปัญหาและข้อเสนอแนะ

25 อัตราตายจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสน ประชากร จำแนกพื้นที่เสี่ยง และจำนวนผู้ก่อการดี 33 ราย 18 ทีม

26 ตัวชี้วัด : อัตราตายจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร /ปี 58 เป้าหมาย เขตสุขภาพที่ 1 ไม่เกิน 33 คน เขตสุขภาพที่ 1 33 คน เป้าหมาย จมน้ำเสียชีวิต ไม่เกิน 33 คน 26 คน ผลงาน ทั้งเขต 26 คน เป้าหมาย ทีมผู้ก่อการดี merit maker 18 ทีม ผลงาน ทั้งเขต 2 ทีม(ชม. 1 ทีม/พร. 1 ทีม) ข้อเสนอแนะ : ใช้กลไก DHS (ตามบริบทพื้นที่) -คืนข้อมูล แสวงหาเครือข่ายความร่วมมือมือร่วมกับชุมชน(ทำได้ดี ที่ จ.น่าน) -สร้างทีมแกนนำ ป้องกันเด็กจมน้ำระดับจังหวัด -เน้นการสื่อสารความเสี่ยงและเฝ้าระวังป้องกันเด็กจมน้ำในกลุ่มผู้ปกครอง เพิ่มขึ้น

27

28 KPI ระดับกระทรวง ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ประชากรอายุ 15-19 ปี อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี KPI ระดับเขตสุขภาพ ร้อยละ 50 ของโรงเรียนที่มีการสอนเรื่อง เพศศึกษา /พฤติกรรมเสี่ยงในโรงเรียน ตามเกณฑ์ ตัวชี้วัดโครงการบูรณาการระบบสุขภาพใจเพื่อเด็กไทยวัยรุ่น ระดับความสำเร็จในการพัฒนา รพช. ให้มีบริการดูแลด้านสังคมจิตใจที่มีคุณภาพและเชื่อมโยงกับ ระบบบริการตามวัย ร้อยละ 80 ของบุคลากรเครือข่ายมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกันแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยง กลุ่มวัยรุ่นที่ได้รับจากการถ่ายทอด KPI ปี 2558 - 59 1.ร้อยละ10 ของวัยรุ่นและ เยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยง ลดลงจากปีที่ผ่านมา - สุรา/ยาเสพติด - การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แผนงานสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น

29 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี ( ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15 – 19 ปี 1,000 คน ) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 – 19 ปี ( ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15 – 19 ปี 1,000 คน ) อัตราต่อ 1,000 50

30 สถานการณ์การคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15–19 ปี เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2557-2558 เกณฑ์ ˂ 50 : 1,000 อัตราต่อ1,000 คน ข้อมูลจาก 43 แฟ้มของสาธารณสุขจังหวัดและรายงานอนามัยแม่และเด็กรายไตรมาส

31 สถานการณ์การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15–19 ปี ในเขตสุขภาพที่ 1 ปี 2558 ข้อมูลจาก 43 แฟ้มของสาธารณสุขจังหวัดและรายงานอนามัยแม่และเด็กรายไตรมาส ร้อยละ(ต่อจำนวนการคลอดมีชีพในมารดาอายุ 15 -19 ปี) ปัญหา ข้อมูล hospital base ปัญหาการเข้าถึง บริการคุมกำเนิด วัยรุ่น ไม่นิยม ข้อจำกัดของทักษะใน การ counselling ของ บุคคลากร ข้อเสนอแนะ 1.ข้อมูล : กำกับติดตามข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำ ในโครงสร้าง 43 แฟ้ม 2. เพิ่มการคุมกำเนิดชั่วคราวระยะยาว (ยาฝั่ง หรือ IUDs) 3. เพิ่มศักยภาพ บุคคลากรในการให้คำปรึกษา 4. เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ใน รพ.สต. ในการให้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวร

32 ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ประชากรอายุ 15 – 19 ปี ( ไม่เกินร้อยละ 13 ภายในปี 2560) ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2557 1313 สูง อันดับ 4

33 อายุ 15-19 ปี ความชุกการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อายุ 15-19 ปี เขตสุขภาพที่ 1

34 มาตรการ ระดับการดำเนินการ ยังไม่สามารถ ขับเคลื่อนได้ สามารถ ดำเนินการ ขับเคลื่อน ดำเนินการได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ 1.มาตรการควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์โดยใช้มาตรการบังคับใช้ กฎหมาย เชียงราย ลำปาง แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ ลำพูน 2. มาตรการควบคุมการโฆษณาและ ส่งเสริมการขายเพื่อชักจูงใจให้ดื่ม โดยใช้มาตรการบังคับใช้กฎหมาย เชียงราย ลำปาง แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงใหม่ ลำพูน 3. มาตรการสื่อสารรณรงค์เพื่อปรับเปลี่ยน ค่านิยมและลดแรงสนับสนุนในการดื่ม เชียงราย ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา เชียงใหม่ ลำพูน 4. มาตรการระดับชุมชน แพร่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง พะเยา แม่ฮ่องสอน ลำพูน น่าน ระดับการดำเนินการตาม 4 มาตรการหลัก

35 ปัญหาข้อเสนอแนะ (เชื่อม SP อุบัติเหตุ: Risk prevention and control และ DHS ตามบริบท พท.) การบังคับใช้กฎหมาย และการ ขับเคลื่อนมาตรการควบคุมการเข้าถึง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์อื่นๆ ไม่เข้มแข็ง พอ(ลำปาง เชียงราย) -กำหนดเป็นพื้นที่พิเศษ -ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในระดับพื้นที่ และ หน่วยสนับสนุนในระดับเขต -บูรณาการงาน ในสถานศึกษาในพื้นที่ เพื่อจัดกิจกรรมที่ เหมาะสม เช่น อาศัยโครงการTo be number oneที่มี เครือข่ายทำงานชัดเจน และกิจกรรม 1ตำรวจ ไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ในการ จัดทำ แผนงานโครงการ (ปี 2558 ข้อมูลส่วน การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ได้ ถูกตัดการบันทึกในโปรแกรมและไม่มี การส่งออกข้อมูล) -บริหารจัดการข้อมูล ร่วมกับหน่วยงานที่มีการทำงานใน พื้นที่ เพื่อจัดทำข้อมูลทดแทน -เสนอเป็นปัญหาจังหวัดเพื่อกำหนดแนวทางร่วมเพื่อแก้ไข ปัญหา กระบวนการเชิงรุกในสถานศึกษาและ ชุมชน เพื่อลดจำนวนวัยรุ่นที่ดื่ม แอลกอฮอล์ในพื้นที่ ยังไม่เข้มแข็ง -การดำเนินงานเชิงรุก ในสถานศึกษา/ชุมชน ใน มาตรการป้องกันนักดื่มหน้าใหม่และการลดจำนวนผู้ดื่ม โดยพัฒนาระบบให้เกิดการคัดกรอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และบำบัดเบื้องตน ในสถานศึกษา/ชุมชน -พัฒนาศักยภาพหน่วยบำบัดรักษา/ระบบการส่งต่อ/ ผู้ปฏิบัติงานในคลินิกวัยรุ่น

36 1.การป้องกันควบคุมโรค NCD & ปัจจัยเสี่ยง 2.การป้องกันควบคุมอุบัติเหตุทางถนน กลุ่มวัยทำงาน

37 อัตราตายจากหัวใจขาดเลือด ปี 55-57 แยกรายจังหวัด ในเขตสุขภาพที่ 1 1 2 3

38 ที่มา : จาก BRFSS สน.โรคไม่ติดต่อ ปี2558 สำรวจ จ.เชียงใหม่/แพร่ เป็นตัวแทนภาพเขต1

39 1. รพ.ที่ได้รับการประเมินรับรอง ผ่านเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ (ร้อยละ 70) จังหวัด ประเมิน / ผ่าน เกณฑ์ % ผล เชียงใหม่ 14/14100√ ลำพูน 2/2100√ ลำปาง 4/4100√ แพร่ 3/3100√ น่าน 8/8100√ พะเยา 4/4100√ เชียงราย 7/7100√ แม่ฮ่องสอน 3/266.7X 2. ผู้ป่วย DM/HT ที่มีผล CVD Risk ≥30% ได้รับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและ/หรือได้รับ ยาในการรักษาเพื่อลดความเสี่ยง (ร้อยละ 50) ผลงานระดับจังหวัด จังหวัดผลงาน % ผล เชียงใหม่ 67.2√ ลำพูน 100√ ลำปาง 100√ แพร่ 100√ น่าน 74.3√ พะเยา 79.27√ เชียงราย 100√ แม่ฮ่องสอน 56.45√

40 ผลงานระดับเขต ตัวชี้วัดผลตรวจราชการผลจากHDC อัตราป่วยรายใหม่ DM/HT (ต่อ ปชก.แสนคน) ลดลงจากปี 57 ปี 57ปี 58ปี 57ปี 58 ผล DM528244397288√ HT1036501892672√ ผู้ป่วย DM/HT ควบคุมได้ ตาม เกณฑ์ -ผลงานDMปี57 >40%เพิ่มเป้า 5% <40%เพิ่มเป้า 10% ผล 57เป้า 58ผล 58ผล 57เป้า 58 ผล 58 41.743.841.9725.027.525.2 ผลXX -ผลงานHTปี57 >50%เพิ่มเป้า 5% <50%เพิ่มเป้า 10% 51.353.956.320.822.824.4 ผล√√

41 มาตรการขับเคลื่อน ปี 2559 เชื่อมโยง service plan NCD - DHS วัตถุประสงค์มาตรการ ลดผู้ป่วยDM/HT รายใหม่ เพิ่มการควบคุมได้ ของผู้ป่วยDM/HT รายเก่า 1.ลดความเสี่ยงในประชากร - หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/ตำบลจัดการ สุขภาพ/DHS 2. ลดความเสี่ยงรายบุคคล - DPAC คุณภาพ ใน รพ.สต./รพช./รพท./รพศ. * ติดตามกำกับและผลลัพธ์ คลินิกNCD คุณภาพ ใน Service Plan NCD

42 อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เป้าปี 58 ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร เป้าปี 59 ไม่เกิน 16 ต่อแสนประชากร

43 อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนน (V01-V89) ข้อมูล ตุลาคมคม 57 - มิถุนายน 58 แยกรายเขตฯ อันดับ 3

44

45 อัตราตายต่อแสนประชากร ปี 56 และปี 57

46 ปัญหา 1. ช่วงนอกเทศกาล การขับเคลื่อนงานป้องกันอุบัติเหตุในพื้นที่ เสี่ยงสูงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากหน่วยงานเครือข่ายสหสาขา และท้องถิ่น มีความยุ่งยากในทางปฏิบัติ 2. การลดพฤติกรรมเสี่ยง (เมาแล้วขับ)ในการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และขับขี่ยานพาหนะ โดยการบังคับใข้กฎหมาย (ตร.) และการประชาสัมพันธ์ไม่เพียงพอต่อการป้องกันเชิงรุก ข้อเสนอแนะ - สถานบริการสธ.ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (รายงานสอบสวนอุบัติเหตุ) ผ่านกลไก DHS/DC ทบทวนและ ฟื้นฟูการบริหารจัดการข้อมูล …เพื่อสร้างมาตรการชุมชน/องค์กร (ป้องกันเมาแล้ว ขับ) ให้ครอบคลุมทุกอำเภอโดยเฉพาะอำเภอเสี่ยง - ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องทุกไตรมาส (ตำบล/อำเภอ นำร่องด้านด่านชุมชนหรือตำบลจัดการสุขภาพ 0dop และเฝ้า ระวังควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น) ปัญหา และข้อเสนอแนะ

47 กลุ่มผู้สูงอายุ

48 สถานการณ์ข้อมูลผู้สูงอายุในเขต ๑ ปี ๒๕๕๘ จังหวัด จำนวน ประชากร ผู้สูงอายุ (คน) ร้อยละของ ประชากร ผู้สูงอายุ ร้อยละของการแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุ ADL กลุ่ม ๑กลุ่ม ๒กลุ่ม ๓ เชียงใหม่๒๖๕,๖๓๑๑๕.๘๘๘๖.๑๘๑๐.๖๗๒.๒๙ ลำพูน๗๓,๐๒๒๑๘.๐๑๙๓.๐๗๕.๗๒๑.๒ ลำปาง๑๓๒,๑๑๘๑๗.๕๐๘๓.๙๓๑๓.๘๑๒.๒๖ แพร่๘๔,๔๗๓๑๘.๐๐๙๒.๐๕๖.๖๕๑.๓ น่าน๗๒,๐๗๓๑๕.๑๔๙๕.๔๙๓.๕๖๐.๙๕ พะเยา๗๒,๙๑๘๑๕.๑๔๘๗.๔๘๕.๑๐๐.๘๐ เชียงราย๑๘๔,๔๐๑๑๕.๒๙๙๓.๒๖๕.๘๔๐.๙๐ แม่ฮ่องสอน๒๗,๔๔๘๑๔.๓๔๙๒.๒๙๖.๔๐๑.๑๑ รวม ๙๑๒,๐๘๔ ๑๔.๕๙ ๙๐.๑๗๘.๒๗๑.๕๖

49 ตัวชี้วัด/เป้าหมาย เขต 1 ชมลพลปแพร่น่านพยชรมส จำนวนผู้สูงอายุได้รับฟัน เทียมพระราชทาน 6,120 2,2343277244504864581,293148 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรม สุขภาพที่พึงประสงค์ * 48.58 DHS มีระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวและ ผู้สูงอายุที่ต้องการการ พึ่งพิง (LTC) ด้านสุขภาพ (ร้อยละ 30) 45.0337.843.1586.5967.9420.2057.3533.0622.22 รพช./รพศ. /รพท. มีระบบ การดูแลผู้สูงอายุที่ครบ วงจร(ร้อยละ 30) 80.20100 38100 33.33100 ผู้สูงอายุที่ได้รับการคัด กรอง/ประเมินสุขภาพกาย และใจ (ร้อยละ 60) 55.7761.5287.57- 71.85 81.44 66.0763.59 69.76 มีผู้ผ่านการอบรมเป็น ผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager) เป้าเขต 1 = 45 คน 50945 4 9 7102 มีผู้ผ่านการอบรมเป็น ผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (Care Giver) ) เป้าเขต 1 = 210 คน 4561403540 80 - 498032 รอการสำรวจ โดยกรมอนามัย

50 โครงการฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จำนวนคนไข้ใส่ฟันเทียมพระราชทาน แยกรายปีงบประมาณปี พ.ศ. 2555 - 2557 จังหวัด เป้าหมาย 2555 ผลงาน 2555 เป้าหมาย 2556 ผลงาน 2556 เป้าหมาย 2557 ผลงาน 2557 เชียงใหม่ 9168077501,1461,347687 ลำพูน 268259209285173289 ลำปาง 487661503791598617 แพร่ 302423301339338455 น่าน 264242264408345500 พะเยา 274445300458299517 เชียงราย 6121,0587001,211720989 แม่ฮ่องสอน 10011098697538 รวม 3,2234,0053,1254,7073,8954,092

51 ปัญหาในผู้สูงอายุ 88.5% อาศัยอยู่กับครอบครัว 11.5 % อยู่ตามลำพัง ปัญหาการเข้าถึงบริการคัดกรองโรค ไม่ครอบคลุม DM 78.3% HT 94.3% ข้อเข่าเสื่อม 4.5% ซึมเศร้า 8.8% การเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง DM (11.1%) HT(37.5%) ข้อเข่าเสื่อม(6.5%)โรคซึมเศร้า(0.7%)เป็นผู้พิการ (3.7%) พฤติกรรมสุขภาพไม่พึงประสงค์ BMI เกิน(44.6%) ดื่มสุรา บางครั้งเป็นประจำ (2.3%) สูบบุหรี่ประจำ (10.8%) ปัญหาสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ เช่น เข้าร่วมกิจกรรมใน หมู่บ้าน/ชุมชนเป็นประจำ (ร้อยละ 79.0) การใช้คู่มือส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ (ร้อยละ 3.2) แหล่งข้อมูล Cross-sectional Household survey ปี 2556 ใน จ.เชียงใหม่ ลำพูน พะเยา โดยศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

52 ประเด็นปัญหา คู่มือบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุไม่ เพียงพอต่อกลุ่มเป้าหมาย 1.กรมอนามัย กำลังดำเนินการ 2. ประสานกับอปท.สนับสนุน งบประมาณในการจัดทำสมุด บันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ ขาดมาตรการเพื่อรองรับสังคม ผู้สูงอายุ หรือ มีแต่ไม่ชัดเจน (ส่วนใหญ่ดำเนินงานตาม นโยบาย) ขาดมาตรการเพื่อรองรับสังคม ผู้สูงอายุ หรือ มีแต่ไม่ชัดเจน (ส่วนใหญ่ดำเนินงานตาม นโยบาย) 1.กลไก DHS บูรณาการงาน ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.ระดับเขต : LTC Plus ดูแล ผส.ที่เชื่อมโยงทุกระดับ แบบองค์รวม ข้อเสนอแนะ สัดส่วน Care giver ที่ดูแล ผส.กลุ่ม 2,3 ยังน้อย care giver 1 คน ดูแล ผส.ติด บ้านติดเตียง 5-7 คน ต้องมี 2,032 คน จึงจะพอเพียง

53  ลดอัตราการตาย ◦ สมอง ◦ หัวใจ ◦ มะเร็ง ◦ Improve acute care, Prevention, Screening  เพิ่มการเข้าถึงบริการ ◦ Awareness ◦ Access, Transfer  ลดระยะเวลารอคอย ◦ Satellite OPD, Ward, One-Day Chemo  ลดการส่งต่อ ◦ เพิ่มศักยภาพ รพ บุคลากร เครื่องมือ  ส่งคืนชุมชน(นำร่อง) ◦ นาหม่อม ◦ ลำสนธิ

54 ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม

55 สถานการณ์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ ส่วนใหญ่ยังไม่ถูกหลักสุขาภิบาล มูลฝอยทั่วไปที่เคยตกค้าง ได้ถูกฝังกลบจนเกือบหมด 995,766 ตัน ส่วนใหญ่ยังไม่ถูกหลักสุขาภิบาล รวม 2,570 ตัน / ปี ( หรือ 7 ตัน / วัน ) มูลฝอยติดเชื้อของ รพศ./ รพท./ รพช. รวม 2,570 ตัน / ปี ( หรือ 7 ตัน / วัน ) มูลฝอยอันตราย 1 แสน 2 หมื่นตัน มาจากอุตสาหกรรม 6 หมื่นตัน มาจากชุมชน 5 หมื่น 7 พันตัน มูลฝอย ร้อยละ 58 ของท้องถิ่นไม่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ร้อยละ 58 ของท้องถิ่นไม่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ร้อยละ 46 ทิ้งใน สวน ไร่ นา สิ่งปฏิกูล อาหารเป็นพิษใน โรงเรียนมีบ่อยครั้ง โรคระบบทางเดินอาหารมีอัตราสูง สถานการณ์อาหารเป็นพิษใน โรงเรียนมีบ่อยครั้ง กิจการผลิตน้ำแข็ง กิจการตู้น้ำหยอดเหรียญ การเปิดตลาดนั กิจการผลิตน้ำแข็ง กิจการตู้น้ำหยอดเหรียญ การเปิดตลาดนัด ยังไม่ได้รับการควบคุมที่ดี อาหารและน้ำ กลิ่นจากการเลี้ยง สัตว์ การทำอาหาร การร้องเรียนเหตุรำคาญ 3 อันดับแรก คือเรื่องกลิ่นจากการเลี้ยง สัตว์ การทำอาหาร การถนอมอาหาร เรื่องเสียงดัง และ ฝุ่น กิจการ โรงสีข้าว หอพัก คาราโอเกะ หมักดองอาหาร อู่เคาะพ่นสี ถนนคนเดิน เหตุรำคาญ ปัญหาหมอกควัน ปัญหาหมอกควัน การปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตร โรงงาน อุตสาหกรรม เหมืองแร่ การเคลื่อนย้ายสินค้า ขยะและสารเคมี ข้ามแดน การระเบิดของโปตัสเซี่ยมคลอเรต การใช้เครื่องทำ น้ำอุ่นด้วยแก็ส ปัญหาฟูออไรด์ในน้ำบาดาล การเปิดด่าน ชายแดน การเตรียมเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่เสี่ยง

56

57

58 ระบบประปาได้รับการรับรองมาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ แม่ฮ่องสอน เวียงเชียงของ แม่สาย ลำพูน สันกำแพง แม่ริม พาน เชียงใหม่ จอมทอง ฮอด เชียงราย เทิง บ้านโฮ่ง ลำปาง เกาะคา แพร่ น่าน เด่นชัย พะเยา เถิน ประปาส่วนภูมิภาคผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน“น้ำประปาดื่มได้” ของ กรมอนามัยจำนวน 21 แห่งจาก ทั้งหมด 27แห่ง (77.7%) แม่สะเรียง

59 หน่วย ชม. ลพ. ลป. มส. ชร. พย. พร. นนรวม กก./ วัน 2,01 8 4209763501,77 3 5745433867,04 0 ตัน / ปี 736.6153.3356.2127.8647.1209.5198.2141.02569.7 รพ. สป. ทั้งเขตผลิตขยะติดเชื้อ 7 ตัน / วัน 2,570 ตัน / ปี

60  รพท. เท่ากับ 0.35 กก./ เตียง / วัน  รพศ. เท่ากับ 0.38 กก./ เตียง / วัน  รพช. เท่ากับ 0.61 กก./ เตียง / วัน  รพ. สต. เท่ากับ 0.29 กก./ เตียง / วัน  รพ. เอกชน. เท่ากับ 0.41 กก./ เตียง / วัน  คลินิก เท่ากับ 1.32 กก./ วัน  สถานพยาบาลสัตว์ เท่ากับ 0.37 กก./ วัน  ห้องปฏิบัติการ เท่ากับ 0.43 กก./ วัน

61 แผนภูมิ สัดส่วนปริมาณมูลฝอย ติดเชื้อ แยกรายจังหวัด หน่วย : ร้อยละ

62  ในภาคเหนือ พบ 3 % ของทั้งประเทศ ภาค ตะวันออกพบ 45 %  ใน กทม. พบ 26 % ของประเทศ  ในของเสียอันตรายทั้งหมด มีลักษณะเป็น ◦ ของเสียจากภาคอุตสาหกรรม 77 % (2.04 ล้าน ตัน ) ◦ ของเสียจากภาคชุมชน 21 % (0.56 ล้าน ตัน ) ◦ มูลฝอยติดเชื้อ 2 % (50,481 ตัน )

63 ส้วมสาธารณะที่ได้มาตรฐาน HAS ปี 2558 เป้าหมาย 80% ( สถานการณ์โดยรวม 80.5 %) 1. สถานที่ราชการเป้าหมาย 1,398 ผลงาน 1080 ร้อยละ 77.2 2. โรงพยาบาลเป้าหมาย 1,320 ผลงาน 1,227 ร้อยละ 92.9 3. สถานศึกษาเป้าหมาย 3,097 ผลงาน 2,710 ร้อยละ 87.5 4. ศาสนสถานเป้าหมาย 4,631 ผลงาน 3,190 ร้อยละ 68.8 5. ร้านจำหน่ายอาหารเป้าหมาย 8,528 ผลงาน 7,292 ร้อยละ 85.5 6. ตลาดสดเป้าหมาย 296 ผลงาน 264 ร้อยละ 89.2 7. ห้างสรรพสินค้าเป้าหมาย 21 ผลงาน 21 ร้อยละ 100 8. ปั้มน้ำมันเป้าหมาย 232 ผลงาน 188 ร้อยละ 81.0 9. สถานีขนส่งเป้าหมาย 19 ผลงาน 16 ร้อยละ 84.2 10. แหล่งท่องเที่ยวเป้าหมาย 36 ผลงาน 22 ร้อยละ 61.1 11. สวนสาธารณะเป้าหมาย 22 ผลงาน 14 ร้อยละ 63.6 12. ส้วมสาธารณะริมทาง เป้าหมาย 8 ผลงาน 6 ร้อยละ 75.0

64 ปี 58 มีเทศบาลสมัครเข้ารับการประเมิน 102 แห่ง ได้ ทำการประเมินแล้ว 42 แห่ง

65  ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือการขับเคลื่อน กลไกสำคัญ คณะ อสธจ. ◦ ความเข้มแข็ง ต่อเนื่อง และมีมติที่ชัดเจนของ คณะ อสธจ. โดยมีคณะทำงานด้านข้อมูล ด้าน การติดตามผล และ ดำเนินการตามมติ ◦ การดำเนินการประเมินระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น (EHA) อย่างต่อเนื่อง ◦ การดำเนินการประเมินระบบบริการอนามัย สิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น (EHA) อย่างต่อเนื่อง มี มาตรฐาน โดยมีทีมสนับสนุน พี่เลี้ยง ให้กับ ท้องถิ่น ◦ การขับเคลื่อนในภาคประชาชน ◦ การขับเคลื่อนในภาคประชาชน ในด้านการ คุ้มครองสิทธิทางสุขภาพจากเงื่อนไขทาง สิ่งแวดล้อม

66 www.designfreebies.org Company Logo Thank you!


ดาวน์โหลด ppt การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 22 กันยายน 2558 ณ ห้องประชุมอิมพีเรียล บอลลรูม โรงแรมดิเอ็มเพลส เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google