งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ขจัดความไม่รู้เข้าไม่ถึง ให้รู้ลึกถึงเรื่องทุนการศึกษา สื่อเชื่อมโยงให้พี่น้องชาวแอคบา นักประชาสัมพันธ์เพื่อคุณนั้นคือเรา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ขจัดความไม่รู้เข้าไม่ถึง ให้รู้ลึกถึงเรื่องทุนการศึกษา สื่อเชื่อมโยงให้พี่น้องชาวแอคบา นักประชาสัมพันธ์เพื่อคุณนั้นคือเรา."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ขจัดความไม่รู้เข้าไม่ถึง ให้รู้ลึกถึงเรื่องทุนการศึกษา สื่อเชื่อมโยงให้พี่น้องชาวแอคบา นักประชาสัมพันธ์เพื่อคุณนั้นคือเรา

2 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร. ก้องภู นิมานันท์ ภาควิชาการจัดการ บุคลากรที่ปรึกษา ( พี่อัญ ) นางสาวอัญชลี วิเลิศศักดิ์ ฝ่ายงานวิเทศสัมพันธ์ หัวหน้ากลุ่ม ( ดัชมิลล์ ) นางสาวปภาวดี แสนพรหม 561510151 รองหัวหน้ากลุ่ม ( พลอย ) นางสาวนิลรัตน์ ตันตินราศักดิ์ 561510142 เลขานุการกลุ่ม ( หมิว ) นางสาวนิรัญญา สุวรรณศร 561510141 สมาชิก ( โก้ ) นายปรเมศวร์ อุทุมพร 561510152 ผู้ประสานงาน ( ธาย ) นางสาวพัทธ์ธีรา เพ่งพิศ 561510182 สมาชิก ( นิ้ง ) นางสาวพิจาริน จันทร์ศรี 561510184 สมาชิก ( นิ้ง ) นางสาวพิชชาอร ชมสวน 561510187

3 การกำหนดหัวข้อปัญหา ลำ ดับ ปัญหา ความ เป็นไป ได้ ความรุนแรง/ ผลกระทบ ความถี่ ผล คูณ 1 การประชาสัมพันธ์ ข่าวสารไม่ทั่วถึง 43448 2 เอกสารจัดเรียงไม่เป็น ระเบียบ 42216 3 การติดต่อประสานงานกับ หน่วยงานอื่นผิดพลาด 2316 4 เจ้าหน้าที่งานวิเทศ สัมพันธ์ไม่เพียงพอ 1212

4 การเก็บข้อมูล จากการสำรวจโดยถามคำถามว่า “คุณเคยได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ แลกเปลี่ยนหรือทุนการศึกษาต่อต่างประเทศจากหน่วยงานวิเทศสัมพันธ์ หรือไม่” พบว่า นักศึกษาในคณะบริหารธุรกิจ จำนวน 100 คน มีคนที่ไม่ได้รับรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการแลกเปลี่ยนหรือทุนการศึกษาอยู่ถึง 66 คน การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย

5 66 คนที่ไม่ได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการแลกเปลี่ยนหรือทุนการศึกษา ได้มีการตอบสาเหตุของการเข้าไม่ถึงออกมาได้ดังกราฟต่อไปนี้

6 เป้าหมาย การลดจำนวนนักศึกษาปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจที่เข้าไม่ถึงข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับทุนและโครงการแลกเปลี่ยน ให้เหลือเพียง 637 (ครึ่งหนึ่งของ66%) จากทั้งหมด 1,274คน (66%มาจากการเก็บข้อมูล โดยทำแบบสอบถามถามนักศึกษาจำนวน100คนในคณะบริหารธุรกิจ) ภายในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558

7 การวางแผนกิจกรรม ระยะเวลาที่วางแผนระยะเวลาที่ปฏิบัติจริง

8 ไม่น่าสนใจ การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา สื่อ ผู้รับ สาร หน่วย งาน การไม่เข้า ถึงข้อมูลข่าว สารเกี่ยวกับ ทุนและ โครงการ แลกเปลี่ยน ของนักศึกษา คณะ บริหารธุรกิจ FACEBO OK หาเพจยาก ชื่อเพจยาวเกินไป คนเข้าดู น้อย ไม่น่าสนใจ มีแต่ข้อมูล ไม่มีสิ่งดึงดูด ใจ รูปแบบเพจเป็น ทางการเกินไป บอร์ ด เอกสารเยอะเกินไป สีสันไม่สวยงาม ไม่มี ภาพเคลื่อนไหว ไม่สามารถดูได้ ตลอดเวลา ไม่น่าอ่าน ไม่ได้สนใจ ไม่รู้จะรับ ข่าวสารจาก ไหน ไม่มีใครบอก ไม่อยากไปต่างประเทศ ไม่มีทุน กลัวการอยู่คนเดียว พ่อแม่ไม่ให้ไป ความสามารถไม่พอ ไม่ได้ภาษาอังกฤษ บุคลากร สถานที่ ชื่อหน่วยงานเข้าใจยาก ไม่มีคนรู้จัก ไม่มีการแนะนำ จำนวนน้อยไป เทคนิคประ ชาสัมพันธ์ที่ใช้ ไม่มีประสิทธิภาพ กระจายข่าวสารไม่ทั่วถึง

9 การกำหนดมาตรการแก้ไขและการปฏิบัติ

10 เพิ่มการประชาสัมพันธ์ทุนและโครงการแลกเปลี่ยนผ่านทางFACEBOOK ดังนี้1. เพิ่มการเข้าถึงโพสต์ 2. เพิ่มการกดถูกใจเพจ

11 มาตรการการแก้ไข S E N D chaNge worD Short likE & share

12 การตรวจสอบผล กราฟแสดง :ยอดกดถูกใจเพจ ช่วงวันที่ 27 ก.ย. 2558 – 14 พ.ย. 2558 ยอดกดถูกใจ เพิ่มขึ้น 119.5 % 24 วันก่อนปฏิบัติ24 วันหลังปฏิบัติ

13 กราฟแสดง :ยอดการเข้าถึงโพสต์ในช่วงวันที่ 27 ก.ย. 2558 – 14 พ.ย. 2558 24 วันก่อนปฏิบัติ 24 วันหลังปฏิบัติ ยอดเข้าถึงโพส เพิ่มขึ้น (ช่วงที่มี การจัดกิจกรรม)

14 MTu Wed ThuFriSatSun Long – term plan for Facebook Fan Page Inter Office Business School Chiang Mai University การกำหนดมาตรฐาน การปฎิบัติงาน จัดกิจกรรม Like&Share (เฉพาะช่วงเวลาที่แนวโน้ม ไม่เพิ่มขึ้น) แชร์คำศัพท์และสาระน่ารู้ เพื่อให้Facebookมีความ เคลื่อนไหวตลอดเวลา (เฉพาะวันพุธ ศุกร์ อาทิตย์) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับทุนการศึกษา และโครงการแลกเปลี่ยน (เฉพาะช่วงเวลาที่มี ประกาศมา)

15 ต้นทุนFacebookACCBA-STU ฝ่ายงานวิเทศสัมพันธ์ ผลต่างค่าใช้จ่ายที่ ประหยัดได้ต่อปี การโปรโมท เพจ Facebook 180 บาท/วัน (ขั้นต่ำสุด 26-105 คนต่อวัน) ไม่มี ประหยัดได้ 180 บาท/เดือน (ทำเดือนละครั้ง) 180x12 =2,160 บาท -ค่ากระดาษ -ค่าหมึกปริ้นสี ไม่มี 1 บาท/แผ่น (ขั้นต่ำเดือนละ 200 หน้า) ประหยัดได้ 200 บาท/เดือน (ทำเดือนละครั้ง) 200x12 =2,400 บาท รวม 4,560 บาท/ปี Annual Cost Saving ค่าใช้จ่ายที่คณะบริหารธุรกิจสามารถ ประหยัดได้จากการทำโครงการ QCC

16 Lesson Learnt ปัญหาที่พบ : ก่อนการเริ่มต้นโครงการได้คำอธิบายที่ค่อนข้างไม่ชัดเจนทำให้ กลุ่มของข้าพเจ้าไม่สามารถดำเนินการแก้ปัญหาตามแบบ โครงการQCCที่ถูกหลัก สิ่งที่ได้รับ: ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาผ่านโครงการ QCC ซึ่งทำให้สามารถ ฝึกคิดการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ สามารถวางแผนขั้นตอน การแก้ปัญหาได้ดีมากและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำวันได้จริง ข้อเสนอแนะ : ระยะเวลาในการทำโครงการควรมีเวลาให้นานกว่านี้ และควรมีการ ติดตามผลให้ข้อเสนอแนะโดยคณาจารย์เป็นประจำทุกสัปดาห์ (อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง)

17 จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ขจัดความไม่รู้เข้าไม่ถึง ให้รู้ลึกถึงเรื่องทุนการศึกษา สื่อเชื่อมโยงให้พี่น้องชาวแอคบา นักประชาสัมพันธ์เพื่อคุณนั้นคือเรา.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google