ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารเรื่องราวร้องทุกข์ เขตสุขภาพ
โดย พญ.ธิดา ยุคันตวรานันท์ นายแพทย์เชี่ยวชาญ ( ด้านเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา ) รพ.ยโสธร คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการข้อร้องเรียนและฟ้องร้องบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
2
ช่องทางการร้องทุกข์ ไม่ใช่พวกเราไม่ทำกัน
3
แนวคิดในการพัฒนาระบบ
4
การดำเนินงานของศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์
PCT ที่เกี่ยวข้อง
6
ศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์ ศูนย์บริหารความเสี่ยง
“คณะกรรมการบริหารเรื่องราวร้องทุกข์” ศูนย์บริหารความเสี่ยง “คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง” อ้างถึงหนังสือกระทรวง เลขที่ สธ /ว 828 ลงวันที่ 26 ก.ย. 56
7
การประสานงานและทำงานร่วมกันระหว่าง
ศูนย์บริหารความเสี่ยง & ศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธาน : ผอ. / รองแพทย์ฯ กรรมการ : กรรมการ : หัวหน้าศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์ เลขา : ผู้จัดการความเสี่ยง ( หัวหน้าศูนย์ความเสี่ยง ) คณะกรรมการบริหารเรื่องราวร้องทุกข์ ประธาน : ผอ. / รองแพทย์ฯ กรรมการ : นักสันติวิธี / นักเจรจาไกล่เกลี่ย กรรมการ : ผู้ชำนาญการ ด้านกฎหมายการแพทย์ กรรมการ : นิติกรฝ่ายบริหารทั่วไป กรรมการ : แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เลขา : หัวหน้าศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์
8
“ คณะกรรมการบริหารเรื่องราวร้องทุกข์ ”
ระดับเขตสุขภาพ ประธาน : ท่านผู้ตรวจฯ / ท่านสาธารณสุขนิเทศ กรรมการ : คณะอนุกรรมการพัฒนา ฯ กรรมการ : สสจ. / ผอ.รพศ. / ผอ.รพท. เลขานุการ : Chief Operating Officer เขต ผู้ช่วยเลขา : ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาฯ ผู้ช่วยเลขา : เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานเขต
9
การดำเนินงานของศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์
PCT ที่เกี่ยวข้อง
10
รวบรวมข้อมูล ( พัฒนางาน เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย )
บทบาทหน้าที่ ศูนย์บริหารเรื่องราวร้องทุกข์ รับเรื่อง ประสาน ( จัดการ ) รายงาน ( ตอบสนอง ) รวบรวมข้อมูล ( พัฒนางาน เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย )
11
แบบฟอร์มแจ้งเรื่องราวร้องทุกข์
12
โปรแกรมบันทึกเรื่องราวร้องทุกข์
13
ประโยชน์จากการใช้งานโปรแกรม
บริหารจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ Program บันทึกสรุปเหตุการณ์เรื่องราวร้องทุกข์ องค์ความรู้ / แหล่งรวมกรณีศึกษา บริหารจัดการ รวมไปถึง การควบคุม กำกับ ติดตาม ทำเนียบนักสันติวิธี / นักกฎหมายการแพทย์
14
KPI ในการกำกับติดตาม 1. สามารถตอบสนองเรื่องราวร้องทุกข์ได้ภายใน 3 วัน มากกว่า 80 % 2. สามารถยุติเรื่องราวร้องทุกข์ได้ในระยะเวลา 30 วัน มากกว่า 80 % 3. ยุติเรื่องร้องทุกข์ได้โดยไม่มีการฟ้องร้องเป็นคดี มากกว่า 90 % 4.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการดำเนินงาน มากกว่า 80% 5. ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการดำเนินงาน มากกว่า 80%
15
วันที่รับแจ้ง - วันที่มอบหมาย
KPI 1 ตอบสนองภายใน 3 วัน วันที่รับแจ้ง - วันที่มอบหมาย
16
KPI 2 ยุติเรื่องภายใน 30 วัน
วันที่รับแจ้ง - วันที่ยุติเรื่อง
17
KPI 3 ยุติเรื่องโดยไม่ฟ้องร้อง
18
KPI 4 ผู้รับบริการพึงพอใจ
19
KPI 5 ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องพึงพอใจ
20
การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร
การจัดทำ ทำเนียบบุคลากร 3 ประเภท 1. นักสันติวิธี / นักเจรจาไกล่เกลี่ย หมายถึง บุคลากรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการเจรจาไกล่เกลี่ยที่จัด โดย ศูนย์สันติวิธี กระทรวงสาธารณสุข อย่างน้อย ระดับต้น
21
การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร
การจัดทำ ทำเนียบบุคลากร 3 ประเภท 2. ผู้ชำนาญการด้านกฎหมายการแพทย์ หมายถึง นิติกรที่ชำนาญการด้านกฎหมายทางการแพทย์ หรือ บุคคลกรทางการแพทย์ที่จบนิติศาสตร์บัณฑิต และยินดีปฏิบัติงานด้านกฎหมายทางการแพทย์
22
การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร
การจัดทำ ทำเนียบบุคลากร 3 ประเภท 3. นิติกรฝ่ายบริหารทั่วไป
23
ลดความขัดแย้ง ขอบคุณค่ะ
การมีโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนและมีเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินงาน นำไปสู่กระบวนการในการตอบสนองเรื่องราวร้องทุกข์ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ลดความขัดแย้ง การมีโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนและมีเครื่องมือช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน นำไปสู่กระบวนการในการตอบสนองเรื่องราวร้องทุกข์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 10 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดระบบโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจน และโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อการใช้งาน จะเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถทำงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการและบุคลากรทางการแพทย์ได้ สร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการและผู้ให้บริการ ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.