ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุชาติ ชินวัตร ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
Developmental Surveillance & Promotion Manual (DSPM)
คู่มือเฝ้าระวัง คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย สำหรับพ่อแม่ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในคลีนิคเด็กสุขภาพดี Well Child Clinic ทุกระดับ จัดทำโดย กระทรวงสาธารณสุข โดยความร่วมมือของ กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมการแพทย์ และสำนักงาน ปลัดกระทรวง สาธารณสุข 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
2
ความท้าทายของพัฒนาการเด็กไทย
พ.ศ กรมอนามัยสำรวจเด็กอายุ 3-5 ปี เด็กไทยมีพัฒนาการต่ำกว่ามาตรฐาน 30 % พ.ศ กรมสุขภาพจิตสำรวจเด็กอายุ 6-14 ปี เด็กไทยมี IQ 98.5 ต่ำกว่ามาตรฐาน 100 EQ 45 ต่ำกว่ามาตรฐาน พ.ศ กระทรวงศึกษาธิการรายงานเด็ก ป.4 – ป.6 10-15 % อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดไม่เป็น
3
ความท้าทายของปัญหาพัฒนาการล่าช้า
เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) มีพัฒนาการไม่สมวัยในช่วงอายุ 0-2 ปี น้อยกว่าในช่วงอายุ 3-5 ปี อย่างมีนัยสาคัญ (Language= 17.3% Vs 38.2% และ FM. = 8.1% Vs 15.2%) พนิต โล่เสถียรกิจ,2557 บทบาทและประสิทธิภาพของ อสมช. พัฒนาการ โดยเฉพาะการช่วยดูแลเด็กที่อยู่กับปู่ย่าตายาย
5
พัฒนาการรวมสมวัยจำแนกตามกลุ่มอายุ1-3 และ 4-5 ปี
พ.ศ. 2550 Ref:N Voramongkol, DOH 16/04/60 5 4 กุมภาพันธ์ 2557 แพทย์หญิง นิตยา คชภักดี
6
กลุ่มเด็กเสี่ยง กลุ่มเด็กคลอดปกติ
Birth Asphyxia ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด Low Birth Weight ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม กลุ่มเด็กคลอดปกติ
7
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เด็กปฐมวัยพัฒนาไม่เต็มศักยภาพ
ครอบครัวยากจน แรงงานอพยพ เด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ ปัญหาสุขภาพ ภาวะแทรกซ้อนในครรภ์ แรกเกิด อุบัติเหตุและสารพิษ ตะกั่ว ในเด็กที่อยู่ในเขตโรงงาน ภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักแรกคลอดน้อย ขาดไอโอดีน เลือดจางจากการขาดธาตุเหล็ก ครอบครัวและสภาพแวดล้อมเครียดรุนแรงเรื้อรัง เด็กที่ถูกละเลย ทอดทิ้ง อยู่ในพื้นที่ภัยพิบัติหรือเหตุการณ์ไม่สงบ มีการสู้รับหรือความรุนแรง
9
ผลการเปรียบเทียบ การเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก ด้วยเครื่องมือ DSPM และ Denver II
ความไวของแบบแบบทดสอบ DSPM (Sensitivity) % ความจำเพาะของแบบแบบทดสอบDSPM (Specificity) %
10
แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
แบบประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM ประกอบด้วยวิธีประเมินสองส่วนและวิธีส่งเสริม 1. เฝ้าระวังพัฒนาการ Developmental Surveillance ติดตามสังเกต ทดสอบพฤติกรรมพัฒนาการตามวัย Developmental milestones ช่วงอายุตามระยะตรวจสุขภาพ 2. ประเมินพัฒนาการแบบคัดกรอง Developmental screening ทดสอบพฤติกรรม พัฒนาการที่ละเอียดขึ้นสำหรับเด็กปฐมวัยทั่วไปเพื่อค้นหากรณีที่อาจจะก้าวหน้าช้า ช่วงอายุ 9, 18, 30 และ42 เดือน 3. วิธีส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละพฤติกรรม ครบทุกด้าน 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
11
คู่มือการเฝ้าระวัง คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย แรกเกิด- ๖ปี
16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
12
แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
13
แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
ประโยชน์ เพิ่มพลังให้พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูใช้วิธีการอบรมเลี้ยงดูที่ สร้าง เสริมพัฒนาการเด็กช่วงปฐมวัย สร้างความผูกพันต่อกัน (Secure attachment) ดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิด ใช้เวลาคุณภาพ สื่อสารกับเด็ก พูดคุย ทำกิจกรรมร่วมกัน เน้นความสามารถของเด็ก (Competency) รับรู้ ทำ ตามระดับ สร้างการควบคุมจากภายใน (Inner locus of control) สร้างวินัยเชิงบวก ใช้เหตุผล ทำตัวเป็นแบบอย่าง มีคุณธรรม ปรับวิธี ประสบการณ์การเรียนรู้ให้น่าสนใจและปลอดภัย เหมาะกับระดับพัฒนาการและลักษณะของเด็ก (Developmentally Appropriate Practice) รู้จักเด็ก ติดตามสังเกตพฤติกรรม 16/04/60 แพทย์หญิงนิตยา คชภักดี
15
นิยาม สมวัย หมายถึง มีผลการประเมินพัฒนาการครบทุกด้าน
ไม่สมวัย หมายถึง มีอย่างน้อย 1 ด้านที่ไม่สมวัย ก้าวหน้า หมายถึง เคยไม่สมวัย แล้วทำการประเมินรอบใหม่แล้วมีอย่างน้อย 1 ด้าน ที่สมวัย. แต่ไม่ได้สมวัยครบทุกด้านที่เคยไม่สมวัย รอการประเมิน หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยในครั้งแรกแล้วรอการประเมินในครั้งที่ 2
16
ส่งต่อ
17
แผนการให้บริการตั้งแต่ 1 เม.ย.58
กลุ่มปกติ –> เล่มขาว (DSPM) หลังคลอด ก่อนออกจาก รพ. • เจ้าหน้าที่ ตรวจพัฒนาการ ช่วงอายุ 9, 18 ,30 และ 42 เดือน(Screening) ในคลินิก WCC ทุกระดับ • อสม. ผู้ปกครอง ตรวจพัฒนาการ ช่วงอายุ 2, 4, 6, 8, 12,15, 17, 24, 29, 36, 41, 48, 54, 56 และ 42 เดือน (Surveillance)
18
เป้าหมายการปฏิบัติ เด็กที่เกิดตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 ทุกคนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดย พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก และ อสมช. จนท.สธ.ที่รพ.สต. สามารถคัดกรอง ส่งเสริมพัฒนาการ และส่งต่อ บูรณาการงานส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นระบบเดียวกันทั่วประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.