ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สภาพที่มุ่งหวัง (45 จังหวัด)
ขั้นต้น เกษตรกรมีความรู้ด้านการจัดการศัตรูพืช และ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ขั้นกลาง มีแปลงขยายพันธุ์ดี (แหล่งพันธุ์ดีระดับชุมชน) เกษตรกรนำเทคโนโลยีไปปฏิบัติ ขั้นปลาย เกษตรกรสามารถจัดการผลิตมันสำปะหลังโดยชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน - มีเครือข่ายการเรียนรู้ - เพิ่มผลผลิต/ไร่ ไม่ต่ำกว่า ตัน/ไร่ - ลดต้นทุนการผลิต - มีกองทุน
2
สภาพที่มุ่งหวัง (PAR)
ขั้นต้น การเตรียมความพร้อมของเกษตรกรในศูนย์ (ศจช.) ให้กรรมการและสมาชิก ศจช. มีความรู้ความสามารถในการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง และตระหนักในบทบาทของตัวเอง ขั้นกลาง ศจช. มีความพร้อมและสามารถพัฒนาวิชาการ ที่มีความเหมาะสมกับชุมชน ใช้กิจกรรมที่กรมฯ สนับสนุนเป็นเครื่องมือขับเคลื่อนการดำเนินงาน ขั้นปลาย ศจช. สามารถบริหารจัดการได้ด้วยชุมชน - กองทุน - เครือข่าย - การบูรณาการกับหน่วยงานระดับท้องถิ่น - สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ได้
3
สภาพที่เป็นอยู่ PAR + -
มีสมาชิกและกรรมการที่มีความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยีการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง เป็นศูนย์จัดตั้ง และชาวบ้านเห็นว่าเป็นศูนย์เฉพาะกิจ จึงมีคุณภาพไม่ดี ที่ทำการไม่ถาวร แผนการดำเนินงานไม่ชัดเจน การบริหารจัดการไม่ต่อเนื่อง ขาดการเชื่อมโยงกับระบบเดิม (ศบกต.)
4
ปัญหาที่ต้องการหาคำตอบ
กระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมของ ศจช. ควรเป็นอย่างไร (ทำให้เกิดความต่อเนื่อง ยั่งยืน สามารถพัฒนาขีดความสามารถของสมาชิก) วิธีการที่ทำให้เกษตรกรข้างเคียง ศจช. เกิดการยอมรับ กระบวนการและเทคโนโลยีของ ศจช. ต้องทำอย่างไร การบริหารจัดการ ศจช. โดยชุมชน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต้องทำอย่างไร ผลลัพธ์ที่เกิดจากการเรียนรู้และการดำเนินงานของ ศจช. บรรลุผลอย่างไรบ้าง ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งของ ศจช.มีอะไรบ้าง ปัญหาที่ต้องการหาคำตอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.