ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSarai Plaphol ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ผลการดำเนินงานของ Leprosy Control Program รอบ 6 เดือนแรก ประจำปี 2555
นพ. กฤษฎา มโหทาน
2
เป้าหมายหลักในการดำเนินงานโรคเรื้อน เมื่อสิ้นปี 2559
ลดอัตราความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability rate) ในผู้ป่วยรายใหม่ลงร้อยละ 50 เทียบกับปี 2553 ร้อยละ 50 ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนได้รับการสำรวจ และฟื้นฟูสภาพทางร่างกาย จิตใจสังคมและเศรษฐกิจ
3
สถานการณ์โรคเรื้อนในประเทศไทย ปี 2527-2554
อัตรา 1 ต่อประชากร 10,000 คน MDT Implementation (1984) PR 8.9 Achieving Elimination Goal (1994) DR 0.7 0. 11 0.04 พ.ศ.
4
จำนวนผู้ป่วยใหม่ และอัตราการตรวจพบผู้ป่วยใหม่ ปี 2538-2554
อัตราการค้นพบผู้ป่วยใหม่ ต่อประชากร 100,000 คน จำนวน(คน) ปี พ.ศ.
5
จำนวนและสัดส่วนผู้ป่วยใหม่ที่มีความพิการระดับ2 ปี 2543-2554
จำนวนและสัดส่วนผู้ป่วยใหม่ที่มีความพิการระดับ2 ปี จำนวน ร้อยละ พ.ศ.
6
จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ รายอำเภอ ปี 2554
ไม่พบผู้ป่วยใหม่ มี อำเภอ (80.17 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 1-2 คน มี 162 อำเภอ (17.46 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละ 3-4 คน มี 19 อำเภอ (2.05 %) พบผู้ป่วยใหม่อำเภอละตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป มี 3 อำเภอ (0.32 %)
7
สถานการณ์ สภาพปัญหา อัตราความชุกโรคเรื้อนลดลง 678 คน
0.11 คนต่อประชากร 10,000 คน New case in 2011: 280 คน แนวโน้มอัตราความพิการระดับ 2 ในผู้ป่วยใหม่ไม่ลดลง สภาพปัญหา ความล่าช้าในการค้นพบผู้ป่วยรายใหม่ ฐานข้อมูลผู้ป่วยเพื่อการฟื้นฟูสภาพไม่สมบูรณ์
8
มาตรการดำเนินงานที่ส่งผลต่อเป้าหมาย
ดำเนินกิจกรรมค้นหาผู้ป่วยใหม่ในหมู่บ้านที่มีข้อบ่งชี้ทุกปี ติดต่อกัน 5 ปี การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ Awareness Self-reporting 2. การตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 3. การสำรวจหมู่บ้าน RVS พื้นที่เป้าหมาย: อำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา (ใช้ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี) มีผู้ป่วยใหม่ทุกปีติดต่อกันในรอบ 5 ปี มีผู้ป่วยรายใหม่ที่เป็นเด็ก มีผู้ป่วยใหม่สะสมตั้งแต่ 10 รายขึ้นไป
9
เป้าหมายการดำเนินงาน ปี 2555
พื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาด 99 อำเภอ ใน 38 จังหวัด 652 หมู่บ้าน หลักเกณฑ์โดยใช้ข้อมูล new case ย้อนหลัง 5 ปี ( ) พบnew case ปีใดปีหนึ่งโดยมีจำนวนสะสม>10 คนขึ้นไป มี 9 อำเภอ (9.09%) พบ new case ทุกปีติดต่อกัน มี 12 อำเภอ (12.12 %) พบ new case ที่เป็นเด็ก มี 39 อำเภอ (39.39%) พบ new case ทุกปีติดต่อกัน / พบปีใดปีหนึ่งสะสมรวม>10 คนขึ้นไป /มีเด็ก พบ 2 ข้ออย่างใดอย่างหนึ่ง มี 29 อำเภอ (29.29%) พบ new case ทุกปีติดต่อกัน +พบปีใดปีหนึ่งสะสมรวม>10 คนขึ้นไป + มีเด็ก มี 10 อำเภอ (10.10%) รวม 99 อำเภอ (10.67%) จาก 928 อำเภอ 76 จังหวัด 928 อำเภอ
10
พื้นที่เป้าหมายดำเนินการในอำเภอที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา ปี 2555
หน่วยงาน เป้าหมาย (99 อำเภอ) สคร.1 6 สคร.2 3 สคร.3 1 สคร.4 2 สคร.5 19 สคร.6 20 สคร.7 7 สคร.8 5 สคร.9 สคร.10 สคร.11 สคร.12 17
11
ผลการค้นหาผู้ป่วยใหม่ตั้งแต่ 1 ต. ค. 54 - 31 มี. ค
ผลการค้นหาผู้ป่วยใหม่ตั้งแต่ 1 ต.ค มี.ค. 55 เปรียบเทียบในช่วงเวลาเดียวกัน ผู้ป่วยใหม่ 1 ต.ค. 52 - 31 มี.ค. 53 1 ต.ค. 53- 31 มี.ค. 54 1 ต.ค. 54 - 31 มี.ค. 55 จำนวนผู้ป่วยใหม่ 204 จาก 398 (51 %) 165 จาก 318 (52 %) 101 (…. %) ผู้ป่วยใหม่ที่มีความพิการระดับ 2 30 (15 %) 15 (9 %) 19 (19 %)
12
เปรียบเทียบผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบได้ ในรอบ 6 เดือนแรก
พื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา (99 อำเภอ) พื้นที่ปกติ (829 อำเภอ) New case 30 คน (30%) New case 71 คน (70%) Grade คน (13%) Grade คน (21%)
13
เปรียบเทียบผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบได้ ในปี 2553-2554
ปี 2553 (405 คน) ปี 2554 (280 คน) พื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ ทางระบาดวิทยา (140 อำเภอ) พื้นที่ปกติ (788 อำเภอ) (119 อำเภอ) (809 อำเภอ) จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบ 200 49.38% 205 50.62% 115 41.07% 165 58.93%
14
วิธีการค้นพบผู้ป่วยใหม่ในรอบ 6 เดือนแรก จำนวน 101 คน
จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบจากพื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ฯ (คน) จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่ค้นพบจากพื้นที่ปกติ มาเอง พิการระดับ 2 23 1 61 14 ตรวจผู้สัมผัสโรค 2 8 สำรวจหมู่บ้าน (RVS) 5 3 รวม 30 4 71 15
15
ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่
กิจกรรม พื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา พื้นที่ปกติ เป้าหมาย (99 อำเภอ) ผลการปฏิบัติงาน พบเป็น โรคเรื้อน 1. การให้ สุขศึกษา ประชา สัมพันธ์ สคร.1 : 6 6 อำเภอ ไม่พบ สคร.2 : 3 46 หมู่บ้าน 506 หมู่บ้าน สคร.3 : 1 678 หมู่บ้าน 240 หมู่บ้าน สคร.4 : 2 266 หมู่บ้าน 80 หมู่บ้าน สคร.5 : 19 7 อำเภอ 11 คน สคร.6 : 20 972 หมู่บ้าน 796 หมู่บ้าน สคร.7 : 7 ไม่รายงาน สคร.8 : 5 56 หมู่บ้าน สคร.9 : 5 72 หมู่บ้าน 32 หมู่บ้าน สคร.10 : 7 ไม่ได้ดำเนินการ 54 หมู่บ้าน สคร.11 : 7 35 หมู่บ้าน 30 หมู่บ้าน สคร.12 : 17 14 หมู่บ้าน 5 คน
16
ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่
กิจกรรม เป้าหมาย ผล พบเป็น โรคเรื้อน 2. การ ตรวจผู้สัมผัส โรคร่วมบ้าน ทุกราย ที่กำลัง รักษา และเฝ้าระวัง สคร.1 : ได้ตรวจผู้สัมผัส ร้อยละ 20 ไม่พบ สคร.2 : 147 คน สคร.3 : 39 คน ได้ตรวจ 39 คน สคร.4 : 206 คน ได้ตรวจ 191 คน สคร.5 : สคร. กำลังติดตามข้อมูล 3 คน สคร.6 : 1,481 คน ได้ตรวจ 403 คน 2 คน สคร.7 : ไม่รายงาน สคร.8 : 16 คน ได้ตรวจ 16 คน สคร.9 : 23 คน ได้ตรวจ 23 คน 1 คน สคร.10 : 828 คน ได้ตรวจ 119 คน สคร.11 : 196 คน ได้ตรวจ 131 คน สคร.12 : ได้ตรวจผู้สัมผัส ร้อยละ 10
17
ข้อสังเกตจากการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่
ข้อมูลจากรายงาน (1 ต.ค. 54 – 31 มี.ค. 55) New case 101 คน เป็นผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 29 คน ตรวจพบโดย การตรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน 10 คน (34%) Self-reporting 19 คน (66%)
18
ผลการค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่
กิจกรรม พื้นที่ที่มีข้อบ่งชี้ทางระบาดวิทยา พื้นที่ปกติ เป้าหมาย (99 อำเภอ) ผลการปฏิบัติงาน พบเป็น โรคเรื้อน 3. การสำรวจหมู่บ้านแบบเร็ว สคร.1 : 6 ไม่ได้ดำเนินการ - สคร.2 : 3 สคร.3 : 1 80 หมู่บ้าน สคร.4 : 2 ดำเนินการใน 6 เดือนหลัง 1 หมู่บ้าน ไม่พบ สคร.5 : 19 ไม่ทราบข้อมูล สคร.6 : 20 66 หมู่บ้าน .... 77 หมู่บ้าน สคร.7 : 7 ไม่รายงาน สคร.8 : 5 สคร.9 : 5 1 คน สคร.10 : 7 สคร.11 : 7 4 หมู่บ้าน สคร.12 : 17 14 หมู่บ้าน 6 คน
19
เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 2 : ร้อยละ 50 ของผู้ประสบปัญหาจากโรคเรื้อนได้รับการสำรวจและฟื้นฟูสภาพทางร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ ผลการดำเนินงาน กิจกรรม ดำเนินการระหว่าง 1 ต.ค มี.ค. 55 สถาบันฯ สคร. คู่มือ สำรวจความพิการปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ PAL √ - สนับสนุนเครือข่ายในการดำเนินงานฟื้นฟูสภาพ (จิตอาสา, เพื่อนช่วยเพื่อน,ทีมขับเคลื่อนสุขภาพ) 1, 5, 6, 9, 10, 11 เตรียมการบูรณาการนิคมเข้าสู่ชุมชนปกติเพื่อฟื้นฟูสภาพ PAL 3
20
สรุปกิจกรรมที่ควรทำใน 6 เดือนหลัง
เป้าหมายที่ 1 case finding สคร. ที่มีพื้นที่เป้าหมาย99 อำเภอ อยู่ในเขตรับผิดชอบ และยังไม่ได้ดำเนินการ ขอให้เร่งรัดดำเนินการใน 6 เดือนหลัง 2. พื้นที่ที่พบผู้ป่วยใหม่เด็กเป็นพื้นที่เร่งรัดพิเศษ ให้พิจารณา กิจกรรมสำรวจหมู่บ้านแบบเร็ว (RVS) 3. เร่งรัดกิจกรรมการสำรวจผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านให้ครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายมากขึ้น และสถาบันฯ จะปรับระบบการรายงาน ในกิจกรรมดังกล่าวให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.