ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKoratak Wichasak ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
เป้าหมาย : องค์กรท้องถิ่น/ชุมชน สามารถบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง/เปราะบางได้ ในภาวะภัยพิบัติ พื้นที่ดำเนินการ : พื้นที่ประสบภัยพิบัติ
2
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ ปี ๕๕-๕๘
การเตรียมการด้านอาหารและโภชนาการ ก่อนเกิดภัยพิบัติ การจัดการด้านอาหารและโภชนาการ ขณะเกิดภัยพิบัติ สร้างความตระหนักให้ประชาชนในการเตรียมพร้อมด้านอาหาร และโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ ดำเนินการตามมาตรฐานขั้นต่ำในการช่วยเหลือด้านอาหารและโภชนาการ สำรวจและเตรียมคลังอาหารในชุมชน พัฒนานวัตกรรมในการจัดเก็บและถนอมอาหาร สร้างระบบเตือนภัยด้านอาหารและโภชนาการ จัดเตรียมและกระจายอาหาร เตรียมระบบการจัดการด้านการขนส่ง (logistics) ข้อแนะนำการจัดถุงยังชีพสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง/กลุ่มประชาชนทั่วไป ข้อแนะนำในการจัดเตรียมอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบางในศูนย์พักพิง/ชุมชน ข้อแนะนำการจัดอาหารกล่อง จัดทำทะเบียนภาคีเครือข่ายด้านอาหารและโภชนาการ จัดทำทะเบียนผู้ประกอบอาหาร/แม่ครัวอาสา พัฒนาศักยภาพ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและติดตาม ข่าวสารเพื่อเฝ้าระวังด้านอาหารและโภชนาการอย่างสม่ำเสมอ จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเปราะบางและ mapping พื้นที่ ฐานข้อมูลด้านภาวะโภชนาการ ติดตามและประเมินผล จัดหาและเตรียมสถานที่พักพิง จัดทำเครื่องหมายแสดงสถานภาพหรือจำนวนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มเปราะบางติดไว้ที่พักอาศัย ความเหมาะสม/การยอมรับ/คุณภาพ/ความปลอดภัย การฟื้นฟูและเตรียมการด้านอาหารและโภชนาการหลังเกิดภัยพิบัติ พัฒนาแนวทางการจัดการอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง การวางแผน แบ่งปัน กระจายอาหาร จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำในการช่วยเหลือด้านอาหารและโภชนาการ ประเมินภาวะโภชนาการของกลุ่มเสี่ยงและการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยง พัฒนาระบบเฝ้าระวังความมั่นคงอาหารและโภชนาการทุกระดับ ให้ความรู้และคำแนะนำแก่ครอบครัว ชุมชน เตรียมกำลังคน และแบ่งภาระหน้าที่ ใน 3 ระดับ เวทีแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนจากครัวเรือน ชุมชน เจ้าหน้าที่ ชุมชน/อาสาสมัคร ฯ ครัวเรือน พัฒนาโมเดลต้นแบบในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ พัฒนาศักยภาพ แหล่งเรียนรู้
3
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ด้านอาหารและโภชนาการ ในภาวะภัยพิบัติ ปี ๕๕
สร้างความตระหนักให้ประชาชนในการเตรียมพร้อมด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ (๕๕) จัดทำคู่มือประชาชนในการเตรียมพร้อมด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ ประชาสัมพันธ์การเตรียมพร้อมด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ จัดทำมาตรฐานการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติของกลุ่มเปราะบาง (๕๕) จัดทำคู่มือในการบริหารจัดการอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง (๕๕) - จัดทำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการในประชากรกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง - จัดทำมาตรฐานขั้นต่ำในการช่วยเหลือด้านอาหารและโภชนาการ - พัฒนาสูตรอาหารให้ได้คุณค่าทางโภชนาการ สะอาด สะดวกและง่ายต่อการนำไปใช้ในภาวะภัยพิบัติ จัดเตรียมข้อแนะนำการจัดถุงยังชีพสำหรับกลุ่มเสี่ยง/เปราะบาง (๕๕) เสริมสร้างศักยภาพของภาคีที่เกี่ยวข้อง (๕๕-๕๖) พัฒนาศักยภาพของแม่ครัวอาสาหรือผู้ประกอบอาหารของชุมชนหรือศูนย์พักพิงในภาวะภัยพิบัติ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (เจ้าหน้าที่ ชุมชน อาสาสมัคร บุคคลทั่วไป)แบบมีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ (๕๕) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ด้านอาหารและโภชนาการ ในภาวะภัยพิบัติ ปี ๕๕ พัฒนาโมเดลต้นแบบในการบริหารจัดการด้านอาหารและโภชนาการ (๕๖) - ศูนย์พักพิง - ชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังความมั่นคงอาหารและโภชนาการในทุกระดับ (๕๕-๕๖) ประชุมระดมสมองเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องทุกระดับเพื่อร่วมวางระบบเฝ้าระวังด้านความมั่นคงทางอาหารและโภชนาการ (๕๕)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.