ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuda Charanachitta ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
2
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1
3
ปัญหาการวิจัย ปัญหาทางด้านการเรียนการ สอนของผู้เรียนในบางส่วนที่ยังขาดทักษะด้านการ พิมพ์ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการเรียนการสอน วิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้น
4
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการฝึก ทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรมเกม คอมพิวเตอร์ของนักเรียนวิทยาลัย อาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ ระดับ ปวช.1/7 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
5
ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาการ ฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจ กรุงเทพ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ระดับ ปวช.1/7 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 2. ด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้ง นี้ คือ นักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจ กรุงเทพ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ระดับ ปวช.1/7 แผนกพาณิชยกรรม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จำนวน 42 คน 3. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้โดยใช้วิธีเจาะจงเฉพาะนักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษา เทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ระดับ ปวช.1/7 แผนกพาณิชยกรรมภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 จำนวน 14 คน
6
ตัวแปรที่สนใจ ตัวแปรต้น (Independent Variable) ได้แก่ การใช้โปรแกรมเกม คอมพิวเตอร์ ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ การฝึกทักษะการ พิมพ์ในรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษเบื้อง ตัน
7
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ประโยชน์ของการวิจัยที่จะได้รับมีดังนี้ 1. ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะการพิมพ์เพิ่มมาก ขึ้นและสามารถพิมพ์ได้รวดเร็วและแม่นยำ 2. ผู้สอนสามารถใช้โปรแกรมเกม คอมพิวเตอร์สำหรับการจัดการเรียนการสอนวิชา พิมพ์ดีดอังกฤษเบื้องต้นเพื่อฝึกทักษะการพิมพ์ของ นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนในวิชาปฏิบัติให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น
8
สรุปผลการวิจัย นักเรียนฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้ โปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์หลังการใช้ โปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ เมื่อพิจารณา โดยรวม พบว่า นักเรียนพิมพ์ได้เพิ่มขึ้น มี จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เมื่อ พิจารณาเป็นรายบุคคลพบว่า นักเรียนที่มี ความสามารถพิมพ์เพิ่มขึ้นเกิน 10 คำ มี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 ส่วน นักเรียนที่มีความสามารถพิมพ์เพิ่มขึ้นน้อย กว่า 10 คำ มีจำนวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 21.43
9
ส่วนนักเรียนที่มีความสามารถในการ พิมพ์หลังการจัดกิจกรรมการฝึกทักษะการ พิมพ์โดยใช้โปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ผ่าน เกณฑ์โดยรวม มีจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อย ละ 100 เมื่อพิจารณาเป็นรายบุคคลพบว่า นักเรียนที่พิมพ์ได้เพิ่มขึ้นอยู่ในระดับดี จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 ( คำสุทธิระหว่าง 30 – 34 คำ ) รองลงมาอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 35.72 ( คำสุทธิ ระหว่าง 25 - 29 คำ ) ลำดับต่ำสุดอยู่ในระดับ อ่อน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 ( คำ สุทธิระหว่าง 20 – 24 คำ )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.