งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
กลยุทธ์ การดำเนินงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ 1.การสนับสนุนเชิงนโยบาย 2.การสื่อสารประชาสัมพันธ์ 3. การสนับสนุนเชิงปฏิบัติการ 4. การสนับสนุนทรัพยากร 5. สร้างขวัญกำลังใจ 6. การติดตามและประเมินผล ระดับจังหวัด (สสจ.) คัดเลือกหมู่บ้านดำเนินการ ประสานความร่วมมือภาคี/จังหวัด สื่อสารประชาสัมพันธ์ สนับสนุน/ติดตาม ประเมินผล ระดับตำบล ประสานความร่วมมือภาคีในหมู่บ้าน ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน วางแผนพัฒนา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเมินผลการพัฒนา ระดับหมู่บ้าน จัดปัจจัยเอื้อ จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ประชาชนในพื้นที่ เป้าหมายมีความรู้ มีการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ลด ความเสี่ยง ต่อการ เกิดโรค

2 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค
เป็นหมู่บ้านที่ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมที่ถูกต้อง 1. การออกกำลังกาย 2. การรับประทานผักและผลไม้สด เป็นหมู่บ้านที่มีปัจจัยเอื้อ 1. มีสถานที่สาธารณะเพื่อการออกกำลังกาย 2. มีแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก 3. ครัวเรือน/ชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ เป็นหมู่บ้านที่มีภาคี/เครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน 1. ผู้นำชุมชน 2. องค์กรในท้องถิ่น

3 ประเมินการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ประเมินครอบคลุม 4 เรื่อง 1. การบริหาร/จัดการการพัฒนาหมู่บ้าน ผู้รับผิดชอบ/ทีมงาน แผนการดำเนินงาน การมีส่วนร่วมของภาคี งบประมาณในการดำเนินงาน 2. การจัดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการที่ก่อให้เกิดปัจจัยเอื้อ

4 3. ผลที่เกิดในหมู่บ้าน 4. ผลที่เกิดกับประชาชน
ครัวเรือน/ชุมชน ปลูกผักปลอดสารพิษ สถานที่ออกกำลังกาย สถานที่จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. ผลที่เกิดกับประชาชน ความพึงพอใจกระบวนการพัฒนา ความรู้และพฤติกรรมที่ถูกต้อง การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา

5 ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ
มาตรฐานงานสุขศึกษา ปัจจัยนำเข้า + กระบวนการ 10. ผลลัพธ์ 1. นโยบาย ด้านผู้รับบริการ 8.เฝ้าระวัง 3. ระ บบ ข้อ มูล 2.ทรัพยากร 9.วิจัย 4.วางแผน ด้านชุมชน 5.ดำเนินงาน 6. นิเทศ ด้านพัฒนาคุณภาพบริการ 7.ประเมินผล ความเชื่อมโยงของ 9 องค์ประกอบ

6 ผลลัพธ์ด้านชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมสุขศึกษา เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ให้ข้อมูลข่าวสาร ร่วมคิด ร่วมทำ ตรวจสอบ

7 ชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อ
ชุมชนเป็นฐาน (Community – based intervention) ลดปัจจัยเสี่ยง ลดโรค ปัจจัยเสี่ยงร่วม ลด 5 โรค ออกกำลังกาย+บริโภค โรคหัวใจหลอดเลือด 2. โรคหลอดเลือดสมอง 3. โรคเบาหวาน 4. โรคความดันโลหิตสูง 5. โรคมะเร็ง การบูรณาการ - ป้องกันลดปัจจัยเสี่ยงร่วม - การใช้และเข้าถึงบริการ - การมีส่วนร่วมของชุมชน

8 ปัจจัยสำเร็จของการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
1. ผสมผสานการดำเนินงานให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในชุมชน 2. การวางแผน การกำหนด/เลือกกลยุทธ์ / กิจกรรมการดำเนินงาน ควรสอดคล้องบรรทัดฐานทางสังคมของชุมชน (ความร่วมมือ จากชุมชน) 3. เป้าหมายการดำเนินงาน คือ ให้ความสำคัญกับการลดปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดการเกิดโรค 4. ความเข้าใจในวัตถุประสงค์การทำงานและความร่วมมือจาก ชุมชนเป็นหัวใจของความสำเร็จในการทำงาน

9 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google