งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

PHP เบื้องต้น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "PHP เบื้องต้น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 PHP เบื้องต้น

2 การแทรกคาสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
สามารถแทรกคำสั่งภาษา PHP ได้โดยการใช้ PHP tags ซึ่งมีไว้เพื่อเป็นการบ่งบอกให้รู้ส่วนที่เป็นคำสั่งของภาษา PHP ที่อยู่ในเอกสาร HTML การใช้ PHP tags นั้นสามารถทำได้ 4 รูปแบบ ดังต่อไปนี้

3 การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
XML Style หรือ Default Syntax รูปแบบ <?php คำสั่ง; ?> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ XML Style <?php echo “Hello World ! <br/>”; echo “I am PHP”; ?>

4 การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
SGML หรือ Short Tags รูปแบบ <? คำสั่ง; ?> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ SGML หรือ Short Tags <? echo “Hello World ! <br/>”; echo “I am PHP”; ?>

5 การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
Script Style รูปแบบ <script language=‘php’> คำสั่ง; </script> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ Script Style <script language=“php”> echo “Hello World”; </script>

6 การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
ASP Style รูปแบบ <% คำสั่ง; %> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ ASP Style <% echo “Hello World”; %>

7 การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
แบบที่แนะนำให้ใช้ คือ XML style หรือ Default Syntax เนื่องจากสามารถทำงานได้กับทุกเซิร์ฟเวอร์ อีกทั้งสอดคล้องกับไวยากรณ์ของภาษา XML รูปแบบ <?php คำสั่ง; ?>

8 การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML
การวางคำสั่งในภาษา PHP ไว้ภายในเอกสาร HTML ตามที่ต้องการได้ โดยที่ PHP tags อาจจะวางอยู่สลับกับ HTML tags ตัวอย่าง ดังนี้ <html> <head> <title>My Homepage</title> </head> <body> <h1> <?php echo "Hello World!"; ?> </h1> </body> </html>

9 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP

10 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP

11 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP
เครื่องหมายสิ้นสุดคำสั่ง ใน PHP จะใช้เครื่องหมาย ; (Semicolon) เป็นตัวแสดงจุดสิ้นสุดในแต่ละคำสั่ง เช่น $x = 10; $z = “abc”; หลังใส่เครื่องหมาย ; เพื่อสิ้นสุดคาสั่งแล้ว สามารถนาคำสั่งอื่นมาต่อท้ายได้เลย แต่การเขียนโค๊ดลักษณะนี้จะอ่านโปรแกรมได้ยาก ดังนั้นไม่นิยมทำกัน เช่น $x = 10; $y = x + 10 ; $z = “abc”;

12 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP
คำอธิบาย (Comment) คำอธิบาย ใช้ในการอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรมที่เขียน เพื่อช่วยให้พิจารณาโค้ดได้ง่ายขึ้น แต่โปรแกรมจะไม่นำส่วนที่เป็นคำอธิบายไปประมวลผลได้ใน PHP สามารถเขียนคาอธิบายได้หลายแบบดังนี้ Single-Line C++ Syntax หรือ Shell Syntax เป็นการเขียนคาอธิบายบรรทัดเดียว โดยใช้เครื่องหมาย // หรือ # ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่สัญลักษณ์เป็นต้นไปตลอดทั้งบรรทัดเป็นคำอธิบายทั้งหมด และจะไม่นาบรรทัดนั้นมาประมวลผล ดังนี้

13 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP
ตัวอย่าง แสดงการใช้เครื่องหมาย // หรือ # เพื่อเขียนคาอธิบายแบบบรรทัดเดียว //Author : Parinya Noidonprai #All Rights Reserved

14 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP
คำอธิบาย (Comment) Multiple-Line C Syntax เป็นการเขียนคำอธิบายแบบหลายๆ บรรทัด โดยใช้สัญลักษณ์ /* */ ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่สัญลักษณ์ /* เป็นต้นไปเป็นคำอธิบาย จนกว่าจะเจอสัญลักษณ์ */ จึงจะถือว่าสิ้นสุดคำอธิบาย ตัวอย่าง ดังนี้

15 องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP
ตัวอย่าง แสดงการใช้เครื่องหมาย /* */ เพื่อเขียนคาอธิบายแบบหลายบรรทัด /* Author : Parinya Noidonprai All Rights Reserved */

16 การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
คำสั่ง echo ( ) คำสั่ง echo ( ) สามารถใช้แสดงผลลัพธ์ของข้อมูลแล้วส่งผ่านไปแสดงผลยังเว็บบราวเซอร์ ตัวอย่าง <?php $name = “Thai”; $surname= “Land” ; echo “ ชื่อ”.$name.“ ”.$surname; ?>

17 การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
คำสั่ง $_POST $_POST เป็นคำสั่งที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่ถูกส่งมาจากฟอร์ม คำสั่ง Form <input type=“text” name=“ชื่อ”> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[ชื่อ]; ?>

18 การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
คำสั่ง Form <input type=“text” name=“age”> <input type=“password” name=“pass”> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[‘age’]; echo $_POST[‘pass’]; ?>

19 การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
คำสั่ง Form <textarea name=“address”> </textarea> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[‘address’]; ?>

20 การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
คำสั่ง Form <input type=“radio” name=“age” value=“15”> <input type=“radio” name=“age” value=“25”> <input type=“radio” name=“age” value=“35”> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[‘age’]; ?>

21 การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
คำสั่ง Form <input type=“checkbox” name=“music” value=“rock”> <input type=“checkbox” name=“music” value=“soft”> ตัวอย่าง <?php foreach($_POST[‘music’] as $val){ echo $val; } ?>

22


ดาวน์โหลด ppt PHP เบื้องต้น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google