ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ชุมชนและโรงไฟฟ้า กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
โดย รองปลัดกระทรวงพลังงาน (ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์) ณ โรงแรมอมารีวอเตอร์ เกท กรุงเทพมหานคร 17 มกราคม 2551
2
ประเด็นนำเสนอ ไฟฟ้ากับการพัฒนาประเทศ ชุมชนกับโรงไฟฟ้า
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ตัวอย่างการดูแลชุมชนรอบโรงไฟฟ้าของต่างประเทศ แนวทางของประเทศไทย
3
ไฟฟ้ากับการพัฒนาประเทศ
ไฟฟ้าช่วยอำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตประจำวัน ไฟฟ้าช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
4
ไฟฟ้ากับการพัฒนาประเทศ ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เมกะวัตต์ ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ฉบับมีนาคม 2550
5
ปัจจุบันมีโรงไฟฟ้า ที่มีสัญญาซื้อขายกับการไฟฟ้าตั้งแต่ 6 MW ขึ้นไปที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว จำนวน 100 โรง ใน 39 จังหวัด
6
ชุมชน กับ โรงไฟฟ้า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 66 ให้สิทธิกับชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมท้องถิ่น โรงไฟฟ้าก็ต้องดำเนินการในเป็นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย
7
>>ต้องอยู่ร่วมกัน<<
ชุมชน กับ โรงไฟฟ้า >>ต้องอยู่ร่วมกัน<< กระทรวงพลังงานเล็งเห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันระหว่างโรงไฟฟ้ากับชุมชนรอบโรงไฟฟ้า จึงกำหนดให้มีการจัดตั้ง ”กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า” ขึ้น เพื่อจัดหาเงินทุนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
8
>>กองทุนกับการพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน<<
ชุมชน กับ โรงไฟฟ้า >>กองทุนกับการพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน<< เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เน้นการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน เน้นการอยู่ร่วมกันของชุมชนและโรงไฟฟ้า
9
ตัวอย่างการดูแลชุมชน รอบโรงไฟฟ้าของต่างประเทศ (1)
ประเทศญี่ปุ่น: จ่ายเงินอุดหนุน 0.06 บาท/หน่วยให้กับรัฐบาลท้องถิ่น สำหรับโครงพัฒนาสังคม เช่น การสร้างถนน ท่าเรือ ระบบประปา สวนสาธารณะ โรงพยาบาล โรงเรียน ส่งเสริมกิจกรรมวัฒนธรรมพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และการป้องกันสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
10
ตัวอย่างการดูแลชุมชน รอบโรงไฟฟ้าของต่างประเทศ (2)
ประเทศฟิลิปปินส์: จ่ายเงินอุดหนุน บาท/หน่วยให้กับ กองทุนไฟฟ้า (25%) กองทุนสำหรับการฟื้นฟูป่าไม้ การจัดการแหล่งน้ำ สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (50%) และกองทุนเพื่อการพัฒนาและอาชีพ(25%)
11
>>กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า<<
แนวทางของประเทศไทย >>กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า<< ชุมชนรอบโรงไฟฟ้าเป็นผู้รับประโยชน์ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมหลัก ผู้ใช้ไฟฟ้ารับภาระกองทุน เพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน
12
ชุมชนที่ได้รับผลประโยชน์จากกองทุนฯ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ชุมชนที่ได้รับผลประโยชน์จากกองทุนฯ ตำบลที่อยู่ในรัศมี 5 กิโลเมตร จากขอบเขตของ โรงไฟฟ้า/นิคมอุตสาหกรรมที่โรงไฟฟ้าตั้งอยู่ หรือพื้นที่ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด
13
คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ กำหนดให้มีคณะกรรมการเป็นผู้กำกับดูแลและบริหารจัดการเงินกองทุนฯ ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนภาคประชาชน (มากกว่าครึ่งหนึ่ง) ผู้แทนภาครัฐ ผู้แทนโรงไฟฟ้า ผู้ทรงคุณวุฒิ
14
อัตราการจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า อัตราการจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ กำหนดให้โรงไฟฟ้าที่ขายไฟเข้าระบบตั้งแต่ 6 MW ขึ้นไป จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ในอัตราดังนี้ เชื้อเพลิง สตางค์/หน่วย ก๊าซธรรมชาติ 1.0 น้ำมันเตา, ดีเซล 1.5 ถ่านหิน, ลิกไนต์ 2.0 พลังงานหมุนเวียน ลมและแสงอาทิตย์ ชีวมวล กากและเศษวัสดุเหลือใช้ ขยะ พลังน้ำ - ทั้งนี้โรงไฟฟ้าที่จ่ายไฟเข้าระบบหลัง 1 ม.ค. 54 จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ในช่วงการก่อสร้างในอัตรา 50,000 บาท/MW/ปี ตามกำลังผลิตติดตั้ง หรือไม่ต่ำกว่า 500,000 บาทต่อปี
15
กรอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า กรอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรอบโรงไฟฟ้าอย่างแท้จริง 1. อุดหนุนหรือช่วยเหลือแก่ชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิต การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี กีฬาและดนตรี สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม บรรเทาความเสียหายในเบื้องต้นจากผลกระทบที่มีสาเหตุจากโรงไฟฟ้าและอื่นๆ 2. สนับสนุนการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 3. สนับสนุนการจัดทำผังเมืองรวมชุมชน 4. จัดทำแผนการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า 5. ให้เงินเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานอื่นๆ 6. นำเงินหรือทรัพย์สินไปหาผลประโยชน์
16
การตรวจสอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า การตรวจสอบการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ กำหนดให้คณะกรรมการบริหารกองทุนดำเนินการดังนี้ จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานประจำปี จัดทำรายงานผลการสอบบัญชี จัดให้มีระบบการตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการบริหารจัดการ การเงิน การบัญชี และการพัสดุ เสนอต่อคณะกรรมการติดตามและประเมินผลและเผยแพร่ให้ชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าและสาธารณชนโดยทั่วไปทราบ
17
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า การจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ
ให้ผู้ผลิตไฟฟ้าจ่ายเงินโดยตรงให้แก่กองทุนฯ ตั้งแต่ 1 ก.ค. 50 เป็นต้นไป แต่ในช่วงที่ยังไม่มีการจัดตั้งกองทุนฯ ให้ กฟผ. เป็นผู้จ่ายเงินเข้ากองทุนฯ และเรียกเก็บคืนผ่านค่า Ft
18
จำนวนเงินนำส่งเข้ากองทุนฯ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า จำนวนเงินนำส่งเข้ากองทุนฯ
19
กฟผ. จะโอนเงินเข้ากองทุนเมื่อ
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า กฟผ. จะโอนเงินเข้ากองทุนเมื่อ มีแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน โดยผู้ว่าราชการจังหวัด มีบัญชีเงินฝาก มีระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งสำเนารายละเอียดข้างต้นไปที่ สนพ.
20
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า กองทุนฯ กับการเสียภาษี
ในช่วงแรก >เงินที่ กฟผ. จะโอนเข้ากองทุนฯ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จะต้องดำเนินการขอเลขทะเบียน ผู้เสียภาษี > กองทุนฯ จะต้องเสียภาษีเงินได้จากยอดรายได้หลังหักค่าใช้จ่าย เมื่อคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานมีระเบียบเกี่ยวกับกองทุนพัฒนาไฟฟ้า >กองทุนฯ จะอยู่ภายใต้ พรบ.การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 >ไม่ต้องเสียภาษีอีกต่อไป
21
การส่งผ่านค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้า
กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า การส่งผ่านค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้า เงินที่โรงไฟฟ้าจ่ายเข้ากองทุนฯ กำหนดให้ โรงไฟฟ้าที่จ่ายไฟฟ้าก่อน 1 ม.ค. 54 ส่งผ่านค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นทางค่าไฟฟ้า Ft โรงไฟฟ้าที่จ่ายไฟฟ้าตั้งแต่ 1 ม.ค. 54 เป็นต้นไป กำหนดเป็นเงื่อนไขในประกาศเชิญชวนการรับซื้อไฟฟ้าจาก IPP บวกเพิ่มจากราคาซื้อขายไฟฟ้าตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า สำหรับ SPP และ VSPP เงินที่โรงไฟฟ้าจ่ายเข้ากองทุนฯ หมายถึงเงินที่ได้มาจากค่าไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศ
22
ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ
การส่งผ่านค่าใช้จ่ายของโรงไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ทำไมผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วประเทศต้องจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ให้กับคนที่อยู่รอบโรงไฟฟ้า??? ประชาชนทั่วประเทศมีไฟฟ้าใช้ เกิดจากการเสียสละของชุมชนที่ยอมให้มีโรงไฟฟ้าตั้งอยู่ ค่าไฟฟ้าเท่ากันทั่วประเทศไม่ว่าใกล้ไกลจากโรงไฟฟ้า ทุกคนทั่วประเทศที่ใช้ไฟฟ้าควรมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการผลิตไฟฟ้า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.