ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บุคลิกภาพและความแตกต่างระหว่างบุคคล
2
เนื้อหาการบรรยาย ความหมายของบุคลิกภาพ อิทธิพลที่ส่งผลต่อบุคลิกภาพ
ความแตกต่างกันระหว่างบุคคล บุคลิกภาพภายนอก – ภายใน การเริ่มพัฒนาบุคลิกภาพที่ดี
3
ความหมายบุคลิกภาพ Person + Ability Person + Capability Persona = Mask
4
การแสดงบทบาทได้ถูกต้อง ตาม กาละ เทศะ บุคคล
Mask & หัวโขน การแสดงบทบาทได้ถูกต้อง ตาม กาละ เทศะ บุคคล
5
ความหมายบุคลิกภาพ (ต่อ)
ผลรวมของลักษณะบุคคลในทุกๆ ด้าน ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งแสดงออกทางด้านกายภาพ ด้านความคิด ด้านอารมณ์ความรู้สึก และด้านพฤติกรรม การแสดงออก ความหมายของบุคลิกภาพ หมายถึง ผลรวมของลักษณะของบุคคลในทุกๆ ด้าน ทั้งทางร่างกายและจิตใจ
6
บุ ค ลิ ก ภ า พ ที่ ดี ส า ม า ร ถ แ ส ด ง พ ฤ ติ ก ร ร ม และปรับบทบาทของตนเองได้เหมาะสม ตาม กาละ เทศะ บุคคล หรือสามารถปรับตัวได้ดีตามสภาวะการณ์ต่างๆ
7
Metaphor as Water
8
อิทธิพลที่ส่งผลต่อความแตกต่างของบุคลิกภาพ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Heredity Factors) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Factors) พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม มีอิทธิพลต่อการกำหนดบุคลิกลักษณะของบุคคล และทำให้แต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน
9
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Heredity Factors)
ลักษณะที่ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานด้วยกระบวนการทางชีววิทยา (Biological Transmission) โดยอาศัย ยีน (Gene) เป็นตัวนำ มีสารชีวเคมีที่สำคัญ คือ ดีเอ็นเอ เป็นตัวนำ ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมและยีนต์ ทำหน้าที่เป็นตัวนำ
10
ลักษณะที่ถ่ายทอดได้ ทางพันธุกรรม
รูปร่าง เพศ สุขภาพ หมู่เลือด สติปัญญา อารมณ์ นิสัย ความถนัด ลักษณะที่ถ่ายทอดได้ ทางพันธุกรรม
11
เพศ : สำหรับโครโมโซมมนุษย์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
1. ออโตโซม (Autosome) ซึ่งหมายถึง โครโมโซมร่างกาย มีจำนวน 22 คู่ หรือ 44 โครโมโซม 2. โครโมโซมเพศ (Sex chromosome) จะเป็นโครโมโซมที่เพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกัน มีจำนวน 1 คู่ คือ เพศชาย มีโครโมโซมเพศเป็น XY ส่วนเพศหญิง มีโครโมโซมเพศเป็น XX ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญิง ได้ดังนี้ เพศชาย มีโครโมโซมปกติ คือ 44 + XY เพศหญิง มีโครโมโซมปกติ คือ 44 + XX การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากยีนบนออโทโซม แบ่งได้ 2 ชนิด ดังนี้ การถ่ายทอดด้วยยีนต์เด่น เช่น โรคคนแคระ , เท้าแสนปม (มีลักษณะทางพันธุ์แท้) การถ่ายทอดด้วยยีนต์ด้อย (เป็นลักษณะ แฝง ในลักษณะของพาหะ) เช่น ทาลัสชีเมีย (ผิดปกติของเม็ดเลือดแดง) ,ผิวเผือก(ผิดปกติของเมลานิน) เป็นต้น
12
กลุ่มเลือด O A O,A B O,B O, A O, A, B, AB O, B AB A, B A, B, AB
กลุ่มเลือดของบิดา กลุ่มเลือดของมารดา กลุ่มเลือดของบุตร O A O,A B O,B O, A O, A, B, AB O, B AB A, B A, B, AB
13
พันธุกรรมที่สามารถถ่ายทอดได้
ลักษณะทางกาย ความสูง สีผิว รูปร่างหน้าตา กลุ่มเลือด สีผม ลักยิ้ม โรโลหิตเป็นพิษ โรคไต โรคตาบอดสี บางหวาน โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย โรคจิต โรคซึมเศร้า ลักษณะทางสติปัญญา ความสามารถทางการคิด เข้าใจ กระทำกิจกรรมต่างๆ จนเป็นผลสำเร็จ ระดับสติปัญญามีหลายระดับตั้งแต่ปัญญาอ่อนถึงอัจฉริยะ
14
ระดับ เชาว์ปัญญา 140 ขึ้นไป อัจฉริยะ ฉลาดมากที่สุด (very superior)
ฉลาดมาก (superior) ฉลาดกว่าระดับปกติ (higher average) ฉลาดปานกลาง หรือระดับปกติ (average) 80 -89 ต่ำกว่าปกติ (low average) 70 -79 คาบเส้นปัญญาอ่อน (borderline mental retardation) ต่ำกว่า 70 ปัญญาอ่อน (mental retardation) พันธุกรรม เป็นตัวกำหนดลักษณะของสติปัญญา (ในคนที่เป็นลักษณะ ของ Downsydrom,LD) แต่ในบุคคลที่มีสติปัญญาปกติ IQ สามารถพัฒนาได้ ตามขีดความสามารถของตนเอง
15
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Factors)
สิ่งแวดล้อมก่อนเกิด สิ่งแวดล้อมขณะเกิด สิ่งแวดล้อมหลังเกิด
16
สิ่งแวดล้อมก่อนเกิด หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวบุคคล ในทางจิตวิทยานั้น สิ่งแวดล้อม คือผลรวมของการกระตุ้นจากสิ่งเร้าที่บุคคลได้รับ และมีผลกระทบต่อบุคคลนั้นตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนกระทั่งเสียชีวิต
17
สิ่งแวดล้อมก่อนเกิด การบริโภคอาหารของมารดา (Maternal Nutrition)
ยา (Drug) บุหรี่และสุรา (Tabacco and Alcohol) สุขภาพของมารดา (Maternal Health) อุบัติเหตุ (Accident) สุขภาพจิตของมารดา (Mental Health) โรคซิฟิลิส (Syphilis) โรคหัดเยอรมัน จะส่งผลให้เด็กทารกตาบอด จะทำให้เกิดโอกาสในการแท้งสูง การรับกัมมันตภาพรังสี เพราะส่งผลให้ยับหยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ในตัวทารก หรือทำให้เซลล์ตาย และทารกอาจพิการ สุขภาพจิตของมารดา ส่งผลต่อภาวะอารมณ์ และพัฒนาการของทารกในครรภ์
18
สิ่งแวดล้อมขณะเกิด คลอดยากหรือรกไม่เปิดทำให้ต้องใช้เครื่องช่วยคลอด อาจทำให้กระโหลกได้รับการกระทบและอาจทำให้ปัญญาหรือเป็นโรคลมชัก หากทารกติดอยู่ที่กระดูกเชิงกรานของแม่นาน อาจทำให้ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน การขาดออกซิเจนประมาณ 18 นาทีอาจมีผลกับระบบการเห็น การพูด การได้ยิน ถ้าหากนานเกิน 5-8 นาที เซลล์สมองจะถูกทำลาย ทำให้เป็นปัญญาอ่อนได้ หากติดเชื้อกามโรคโกโนเรีย (Gonorrhea) หรือหนองใน เชื้อโรคจะทำลายเยื่อบุนัยน์ตาของทารกได้ ทำให้สมองของทารกขาดออกซิเจน หากขาดออกซิเจนนาน 18 วินาที อาจมีผลกับระบบการเห็น การพูด การได้ยิน และถ้าหากนานเกิน 5-8 นาที เซลล์สมองจะถูกทำลาย ทำให้เป็นปัญญาอ่อนได้ กรณีที่ช่องคลอดมารดาติดเชื้อกามโรคโกโนเรีย (Gonorrhea) หรือหนองใน เชื้อโรคจะทำลายเยื่อบุนัยน์ตาของทารกได้
19
สิ่งแวดล้อมในครอบครัว สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สิ่งแวดล้อมหลังเกิด สิ่งแวดล้อมในครอบครัว สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา สิ่งแวดล้อมในสังคม
20
สิ่งแวดล้อมในครอบครัว
สถาบันครอบครัว ครอบครัวถือว่าเป็นสถาบันแห่งแรกที่มีความสำคัญต่อพฤติกรรมของบุคคลในด้านต่าง ๆ เช่น วิธีการอบรมเลี้ยงดู สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ความมุ่งหมายของพ่อแม่ เป็นต้น
21
สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
ทัศนคติและบุคลิกภาพของครู กลุ่มเพื่อนในโรงเรียนและสถาบันการศึกษา วิธีการสอนและสื่อสารเรียนการสอน กฎ ระเบียบและการปกครองในโรงเรียน สถาบันการศึกษา เป็นสิ่งที่สำคัญรองลงมาจากสถาบันครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นแหล่งที่สร้างพฤติกรรม ส่วนสถานศึกษาจะเป็นแหล่งหล่อหลอมพฤติกรรมของบุคคลในการใช้ชีวิตในสังคม ไม่ว่าจะเป็นบุคลิกภาพของครู บรรยากาศในสถานศึกษา เพื่อนร่วมสถาบันการศึกษา หลักสูตร วิธีการสอนของสถาบัน
22
สิ่งแวดล้อมในสังคม สถาบันทางศาสนา สื่อมวลชน สภาพของชุมชนและถิ่นที่อยู่
อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม สถาบันศาสนา มีหน้าที่เป็นเสมือนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และมีบทบาทในการกำหนดพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลในศาสนานั้น ๆ อีกด้วย เนื่องจากอิทธิพลทางศาสนาจะมีผลต่อจิตใจและศรัทธาสูงมาก สถาบันสื่อมวลชน ในปัจจุบันต้องเป็นที่ยอมรับว่าสื่อมวลชนประเภทต่าง ๆ มีบทบาทอย่างมากต่อสังคม จึงมีอิทธิพลต่อการกำหนดพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นสมาชิกในสังคมนั้น ๆ ทั้งทางบวกและทางลบ
23
Question, Idea, and Learning
24
ศึกษาจาก VCD จับกลุ่ม วิเคราะห์บุคลิกภาพตัวละคร ว่าปัจจัยที่ก่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างบุคคล (เปรี้ยว ดิว แว่น อ้อม หนึ่ง เดียว เต๋า) บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลมีเรื่องใดที่เหมาะสม และไม่เหมาะสมบ้าง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.