งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกหนึ่งปัญหา เพื่อใช้สำหรับการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกหนึ่งปัญหา เพื่อใช้สำหรับการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกหนึ่งปัญหา เพื่อใช้สำหรับการศึกษา
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen) ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกหนึ่งปัญหา เพื่อใช้สำหรับการศึกษา โครงการ นครพนม

2 วัตถุประสงค์การเรียนรู้
หลังจากสิ้นสุดการบรรยายในหัวข้อนี้ ผู้เข้าร่วมควรเข้าใจถึงวิธีการ ต่างๆ ดังนี้ การระบุปัญหา ที่สำคัญที่สุด ที่ชุมชนเผชิญอยู่ การรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นเพิ่มเติมเพื่อจะได้เข้าใจปัญหานั้นอย่างถ่องแท้ กำหนดเกณฑ์คัดเลือกในการเลือกสรรหัวข้อที่จะทำการศึกษา คัดเลือกหัวข้อที่จะทำการศึกษา สามารถหาฉันทามติของกลุ่มในการเลือกปัญหาที่จะทำการศึกษา

3 หลักการในการเลือกปัญหาที่จะศึกษา
คำถามที่สำคัญที่จำเป็นต้องได้รับการพิจารณา ก่อนที่จะทำการคัดเลือกปัญหา ปัญหาที่คัดเลือกมามีความสำคัญกับคุณและคนในชุมชน หรือไม่ ? ภาครัฐมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการกับปัญหานี้หรือไม่ ? ข้อมูลของปัญหามีเพียงพอสำหรับการพัฒนาให้เป็น โครงการที่ดีหรือไม่ ? มีความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาที่เลือกมาหรือไม่ ?

4 การให้น้ำหนักในการลงคะแนน กรณีใช้ Sticker
เห็นด้วยกับแนวคิดทั้งหมด จะให้การสนับสนุน ไม่สนับสนุน Sticker แต่ละสี เป็นสัญลักษณ์ที่จะแสดงความเห็นที่แตกต่างกัน

5 การให้น้ำหนักในการลงคะแนน กรณีใช้ ปากกาสี
การให้น้ำหนักในการลงคะแนน กรณีใช้ ปากกาสี เห็นด้วยกับแนวคิดทั้งหมด จะให้การสนับสนุน ไม่สนับสนุน ปากกาแต่ละสี เป็นสัญลักษณ์ที่จะแสดงความเห็นที่แตกต่างกัน

6 คำจำกัดความของ เสียงข้างมาก (majority) ฉันทามติ (consensus)

7 เสียงข้างมากหมายความว่าอะไร?
เสียงข้างมากคือ ma·jor·i·ty 1. จำนวนหรือส่วนที่มากกว่าครึ่ง 2. จำนวนคะแนนเสียงส่วนใหญ่ที่ได้มาจากการ แข่งขัน ที่เกินจากจำนวนเสียงที่เหลืออยู่

8 ฉันทามติ หมายความว่าอะไร?
ฉันทามติ con·sen·sus “ข้อสรุป หรือ ผลของการตัดสินใจของกลุ่มที่ผ่าน การพูดคุย ปรึกษา โต้แย้ง ด้วยเหตุผล และคนส่วน ใหญ่ยอมรับในเหตุผลนั้นๆ”

9 ฉันทามติ จึงไม่ใช่เป็น เสียงข้างมาก

10 ขั้นตอนของฉันทามติในห้องเรียน
ถกแถลงถึงแต่ละปัญหา หยิบยกคำถาม นำมาโต้แย้งกันและ พิจารณาถึงหนทางปฏิบัติในการแก้ไขที่เป็นจริงได้ หาความแตกต่างและความคล้ายคลึง ความตกลงและข้อขัดแย้ง ระหว่างปัญหาต่างๆ ให้คำแนะนำในการผสมผสานปัญหาที่คล้ายกันหรือปรับปรุงแก้ไข ปัญหา หยิบยกปัญหาใหม่ที่เกิดจากการถกแถลง

11 ขั้นตอนของฉันทามติในห้องเรียน
นำเกณฑ์ต่อไปนี้มาพิจารณา รัฐบาลมีอำนาจหรือความรับชอบในการดำเนินการต่อปัญหานี้หรือไม่ ปัญหานี้ถือว่าเป็นปัญหาเฉพาะเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะหรือไม่ ปัญหานี้มีความสำคัญต่อเยาวชนหรือไม่ หรือมีผลกระทบทางตรงหรือทางอ้อม มีเหตุผลเพียงพอที่จะเชื่อว่านโยบายสาธารณะสามารถเป็นไปได้หรือไม่ หรือจะแก้ปัญหาได้หรือไม่ ท่านสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเพียงในการศึกษาเกี่ยวกับปัญหานี้หรือไม่

12 และที่สำคัญ.....ฉันทามติในห้องเรียนได้มาจาก........
การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมให้มีการถกแถลงที่มีเหตุผลและมี แนวคิดที่ดี การให้นักเรียนออกความคิดเป็นที่หลากหลายและค้นหาแนวคิดที่ แตกต่าง ไม่ควรให้นักเรียนถูกชักนำโดยเพื่อนที่มีความคิดที่ หรือ (โดยครู) มีกระบวนในการผสมผสานความคิดที่แตกต่างกันเมื่อมีการลงเป็น ฉันทามติโดยปล่อยให้มีทั้งที่ความคิดที่ไม่เห็นด้วยหรือ แนวความคิดที่แตกต่างกัน


ดาวน์โหลด ppt ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกหนึ่งปัญหา เพื่อใช้สำหรับการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google