งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา

2 พันธกิจ วิเคราะห์ความต้องการ วางแผนการจัดหา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาระบบงานและฐานข้อมูล เพื่อการแลกเปลี่ยนและให้บริการสารสนเทศอุตุนิยมวิทยาและระบบบริหาร สนับสนุนและให้คำแนะนำในการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในกิจกรรมต่าง ๆ

3 โครงสร้างองค์กร

4 บุคลากร ผู้อำนวยการศูนย์ 1 ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 11 ตำแหน่ง
ผู้อำนวยการศูนย์ 1 ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 11 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 7 ตำแหน่ง รวม ตำแหน่ง

5 ระบบเครือข่าย กรมอุตุนิยมวิทยา

6 ระบบสารสนเทศ วัตถุประสงค์
เพื่อลดภัยพิบัติและเพิ่มความปลอดภัยแก่สาธารณะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทางอุตุนิยมวิทยาและการบริการประชาชน เพื่อเชื่อมโยงและใช้ประโยชน์ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาร่วมกับหน่วยงานอื่น เพื่อใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในระบบบริหารจัดการองค์กร

7 ระบบสารสนเทศ (ในความดูแลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ)
CDMS (Climatology Data Management System) Website กรมอุตุนิยมวิทยา NWP (Numerical Weather Prediction) ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

8 CDMS : Climatology Data Management System
System Function e-Observation บันทึกผลการตรวจอากาศจากสถานี e-Service ให้บริการสารสนเทศด้านภูมิอากาศ ระบบสารสนเทศข้อมูลภาพเรดาห์และดาวเทียม ระบบสนับสนุนการดำเนินงานของจังหวัดและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ระบบสนับสนุนการพยากรณ์

9 CDMS : Climatology Data Management System

10 CDMS : Climatology Data Management System
ระบบคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย HP DL380 (CPU Xeon 3.4 GHz RAM 2 GHz) Database (SQL Server 2000) สถานีต่างจังหวัดเชื่อมโยงระบบผ่าน TOT IP Network (1299) สถิติข้อมูล สถานีตรวจอากาศ 115 สถานี สถานีฝน 1,200 สถานี ข้อมูล 1951 – ปัจจุบัน (ปีที่เริ่มมีข้อมูล)

11 Website กรมอุตุนิยมวิทยา

12 NWP (Numerical Weather Prediction)
System Function Numerical Weather Prediction (Unified Model from UKMO) Input Global Telecommunication System (GTS),Sattelite Process Global Model สำหรับพยากรณ์อากาศทั่วโลก Southeast Model สำหรับพยากรณ์อากาศบริเวณเอเชีย อาคเนย์ Thailand Model สำหรับพยากรณ์อากาศบริเวณประเทศไทย Bangkok Model สำหรับพยากรณ์อากาศบริเวณกรุงเทพมหานคร Output Horace GUI for Meteorologist

13 NWP (Numerical Weather Prediction)
ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (Super Computer) - 32 Thin Node (CPU Power2SC 120 MHz RAM 128 MB) สำหรับประมวลผลแบบจำลอง - 6 Wide Node (CPU Power2SC 135 MHz RAM 512 MB) สำหรับการควบคุมอุปกรณ์เครือข่าย การควบคุมอุปกรณ์สำรองและจัดเก็บข้อมูล ระบบจัดเก็บข้อมูล - IBM SSA 7133 Model Disk Subsystem ความจุ 582 GB - ระบบเทปอัตโนมัติ (Robotic Tape Archive) IBM Magstar Tape Library ความจุรวม 10.4 Terabyte

14 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
ระบบงานสารบรรณ ระบบบริหารงานบุคลากร ระบบสารสนเทศครุภัณฑ์ ระบบจัดเก็บเอกสาร

15 ระบบสารสนเทศที่ใช้ในกรมอุตุนิยมวิทยา (นอกเหนือการดูแลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ)
ระบบสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (Global Telecommunication System : GTS) ระบบสื่อสารโทรคมนาคมภายในประเทศ (Meteorological Network : METNET) - กองการสื่อสาร ศูนย์และสถานีอุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบคลังข้อมูลด้านอากาศการบิน (OPMET DATA BANK) - สำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน และศูนย์อุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบเตือนลมสวนทางแนวดิ่ง (Wind Shear Alert System) สำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน และศูนย์อุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบเครื่องรับภาพดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Sattelite Receiver System)- สำนักเฝ้าระวัง และศูนย์อุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบเรดาห์ตรวจอากาศและเครือข่ายเรดาห์ (Meteorological Radar System) สำนักเฝ้าระวัง สำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน ศูนย์อุตุนิยมวิทยาและสถานีอุตุนิยมวิทยาในส่วนภูมิภาค ระบบตรวจวัดและรายงานแผ่นดินไหว (Seismic System)- สำนักแผ่นดินไหว

16 นโยบายความปลอดภัย CCTV Key Card User Account Back Up System
Firewall and IDS

17 ปัญหา และ อุปสรรค ความเป็นเอกเทศขององค์กร งบประมาณสนับสนุน
ปัญหา และ อุปสรรค ความเป็นเอกเทศขององค์กร งบประมาณสนับสนุน ข้อจำกัดด้านบุคลากร

18 ขอบคุณครับ.....


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมอุตุนิยมวิทยา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google