ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยAbhasra Palapol ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการ เศรษฐศาสตร์เพื่อคงคุณค่าระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ Enhancing the Economics of Biodiversity and Ecosystems Services in Thailand / South-East Asia ECO-BEST ปิยะทิพย์ เอี๋ยวพานิช องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน
2
พันธมิตรของโครงการ องค์กรร่วม สหภาพยุโรป (European Union) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช รัฐบาลเยอรมัน ศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมเฮล์มฮอลทซ์ (UFZ) ระยะเวลา มีนาคม 2554 – กุมภาพันธ์ 2558 (รวม 4 ปี)
3
เป้าหมายรวม ลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อประโยชน์สุขของชุมชนท้องถิ่น
วัตถุประสงค์ พัฒนากรอบนโยบายหรือเงื่อนไขทางกฎหมายในการนำเครื่องมือเศรษฐศาสตร์มาใช้ในพื้นที่อนุรักษ์และพื้นที่กันชน สนับสนุนการอนุรักษ์ในพื้นที่นำร่องโดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อเป็นต้นแบบการบริการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับการนำเครื่องมือเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการอนุรักษ์ระบบนิเวศ
4
ผลที่คาดว่าจะได้รับ นำผลการศึกษา เศรษฐศาสตร์ของระบบนิเวศและความหลากหลายทาง ชีวภาพ (TEEB) มาปรับใช้ในบริบทไทย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนที่เกิดขึ้น มีข้อเสนอเพื่อปรับปรุงข้อกฎหมายและนโยบายเพื่อนำเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์มาใช้ในประเทศไทย มีคู่มือประเมินมูลค่าเศรษฐศาสตร์แก่พื้นที่คุ้มครอง เพื่อใช้กำหนดเครื่องมือ ทางเศรษฐศาสตร์ นำร่องการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์อย่างเป็นรูปธรรม จัดให้มีสถานที่ฝึกอบรมเพื่อสร้างความตระหนักและพัฒนาเครือข่าย โดยการ พัฒนาศูนย์อบรมและเวทีอื่นๆ ในภูมิภาค ให้เกิดแหล่งทุนสนับสนุนการดำเนินการด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องให้ความสำคัญ กับเครื่องมือเศรษฐศาสตร์
5
โครงสร้างการบริหาร ECO-BEST
6
“Shortlisted” sites
7
เศรษฐศาสตร์ระบบนิเวศและความ หลากหลายทางชีวภาพ The Economics of Ecosystems and Biodiversity (TEEB)
8
คุณค่าระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 4 มิติ
การเป็นแหล่งเสบียง (Provisioning services) เช่น อาหาร ไม้ ของป่า น้ำ สมุนไพร การควบคุมกลไกของระบบ (Regulating Services) เข่น ร่มเงา ฟอกอากาศ กันภัยพิบัติ กรองน้ำ ยึดเกาะดิน ผสมเกสร กำจัดศัตรูพืช การเป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัยของสิ่งมีชีวิต (Habitat or Supporting Services) เข่น ถิ่นอาศัย ที่หาอาหารของสิ่งมีชีวิต แหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งพันธุกรรม ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Cultural and social Services) เช่น การท่องเที่ยว การสร้างผลงานทางศิลปะ
9
รูปแบบและแนวคิดของ TEEB
คุณค่าที่ได้รับการยอมรับ (Recognizing value) a feature of all human societies and communities คุณค่าที่พิสูจน์ได้ Demonstrating value: in economic terms, to support decision making คุณค่าที่ประเมินค่าได้ Capturing value: introduce mechanisms that incorporate the values of ecosystems into decision making Especially for cultural services, Usually for regulating services Easiest for provisioning services, but possible for some regulating services in some circumstances. 9
10
ขั้นตอนที่เสนอโดย TEEB
1. ระบุชี้และประเมินบริการที่ได้รับจากระบบนิเวศและกลุ่มคนที่เกี่ยวข้องในทุกด้าน 3. กำหนดมูลค่าของบริการระบบนิเวศ แล้วค้นหากลไกที่เป็นคำตอบ 2. ประมาณการและแสดงผลถึงคุณประโยชน์ของบริการจากระบบนิเวศต่างๆ
11
ขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.