งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต
ณัฐพัชร์ หลวงพล, ผศ.ดร. วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต

2 Why? ทำไมต้องมีโครงการ Smart Classroom
ในปัจจุบันระบบการศึกษาในประเทศไทย ในระดับพื้นฐานตั้งแต่ชั้นประถม และมัธยมศึกษา ได้ตื่นตัวและมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนให้ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนสอน และการเรียนรู้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาแล้ว และเยาวชนเหล่านี้คือผู้ที่พร้อมสำหรับระบบการเรียนรู้แบบใหม่ มีความคุ้นเคยกับการใช้อุปกรณ์เป็นอย่างดี ประเด็นสำคัญที่ต้องเตรียมพร้อมคือ กลุ่มเหล่านี้เมื่อเข้าสู่การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ผู้สอนจะต้องมีการปรับตัว รูปแบบการเรียนการสอนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต

3 ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21

4 เทคโนโลยีได้เปลี่ยนโฉมหน้าของการศึกษาอย่างเลี่ยงไม่ได้ และเห็นผลกระทบของสิ่งเหล่านี้ไปบ้างแล้ว ลองจินตนาการถึงชั้นเรียนที่จะเป็นในอีก 20 ปีข้างหน้า 91% ของครูมีเครื่องคอมพิวเตอร์ในชั้นเรียน แต่มีเพียง 1 ใน 5 ของครูเหล่านี้ที่รู้สึกว่าชั้นเรียนของพวกเขามีระดับของเทคโนโลยีที่เหมาะสมแล้ว บ่งบอกถึงเทคโนโลยีมีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมากๆ

5 ทั้งครูและนักเรียน ส่วนใหญ่เชื่อว่าเครื่อง Tablet จะช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ในชั้นเรียน
81% ของผู้สอน เชื่อว่า แทปเล็ตจะช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ในชั้นเรียน 86% ของผู้เรียน เชื่อว่า การเรียนของพวกเขาจะมีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อใช้แทปเล็ต 59% ของผู้เรียนใช้เครื่องโมบายของตัวเองในการเสริมการเรียนรู้ 1 ใน 5 ของผู้เรียนใช้ app บนโมบายเพื่อจัดการด้านการเรียนการสอนของพวกเขา 29% ของครูมีการใช้ Social media ในการทำ Coursework ขณะที่คณาจารย์ในระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน มีการใช้มากถึง 80%

6 Smart Classroom

7 RSU Smart Classroom Objective
เพื่อให้มีการใช้งานอุปกรณ์ Smart e-Board ร่วมกับ Tablet ให้เกิด ประโยชน์อย่างสูงสุด เพื่อเป็นช่องทางการเรียนรู้การใช้งานจากอุปกรณ์ที่มีอยู่ ทำให้เกิด นวัตกรรมการเรียนการสอนใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียน วัตถุประสงค์ของโครงการ

8 Prepare Hardware Software Peopleware Learning Plan Smart e-Board
Tablet Network Software Classroom Management Apps Attendance Peopleware Teacher & Staff Learning Plan วัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้สอน และบุคลกรที่เกี่ยวข้อง การวางแผนปรับปรุงแผนการสอน รูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม การประเมิน เพื่อปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยี และระบบให้เหมาะสม ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน

9 Component of Smart Classroom

10 Interactive e-Board

11 สถานที่ติดตั้ง Samsung Smart Board
อาคาร คณะ / หน่วยงาน จำนวน 1 สำนักงานหน่วยงานต่าง ๆ 2 คณะเศรษฐศาสตร์, คณะบริหารธุรกิจ, วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 3 คณะศิลปศาสตร์, คณะนิติศาสตร์ 4 คณะเภสัชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ 5 คณะเทคโนโลยีชีวภาพ, วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์, RSU Cyber U 10 วิทยาลัยดนตรี 11 คณะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว, สถาบันภาษา, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ 15 คณะนิเทศศาสตร์

12 Tablet for Student

13 Network

14 Software Console Classroom Management

15 ฝึกอบรมการใช้งาน จัดอบรมการใช้งาน Interactive e-Board และ Tablet
ผู้เข้าอบรม อาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ที่สนใจ หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเช่น ศสพ. และ ฝ่ายเน็ทเวิร์ค เข้าร่วมอบรม ในระดับที่ละเอียดมากกว่าผู้ใช้งานทั่วไปเนื่องจากต้องรับผิดชอบดูแล

16 ฝึกอบรมการใช้งาน

17 แผนการประยุกต์ใช้ วิชาธรรมาธิปไตย 4,000 คน การเช็คชื่อเข้าเรียน
ระบบ infrastructure Application รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Paper less ใช้ Galaxy Note 10.1 Tablet eBook + YouTube Google App VDO clip presentation

18 การสำรวจการใช้งาน

19 Conclusion ปัญหาและอุปสรรค แนวทางในอนาคต ข้อจำกัดของขนาดหน้าจอ
ความซับซ้อนของระบบ และเทคโนโลยี ระบบโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในอนาคต รูปแบบการเรียนการสอน ต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระบบโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ สภาพห้องเรียน wifi และระบบซอฟแวร์ที่เกี่ยวข้อง


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google