ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSup Keacham ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
(1) ค่าภาคหลวงปิโตรเลียม ตามหมวด 6 (2) ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (3) ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ตามหมวด 7 ทวิ ค่าภาคหลวง ~ เก็บจาก Gross Revenue เป็นรายไตรมาส ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ~ เก็บจากกำไร สุทธิเป็นรายปี ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ~ เก็บจากกำไรปิโตรเลียม ประจำปีในแปลงสำรวจ นอกจากนี้ ในการยื่นขอสัมปทาน ผู้รับสัมปทานอาจเสนอมอบผลประโยชน์เพิ่มเติม ตามภาวะการแข่งขันในการขอสัมปทาน เช่น เงินโบนัสลงนาม เงินโบนัสการผลิต(หากพบปิโตรเลียม) ทุนการศึกษา อบรม ดูงานแก่ส่วนราชการ เงินบริจาคให้ท้องถิ่น
2
1.การสนับสนุนเงินเพื่อการศึกษา และพัฒนาชุมชนในท้องถิ่น (CSR)
ผลประโยชน์พิเศษเพิ่มเติมที่จะให้ระบุในสัมปทาน (นอกเหนือไปจากการชำระค่าภาคหลวง ภาษีเงินได้ปิโตรเลียมและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (SRB) ตามกฎหมาย) 1.การสนับสนุนเงินเพื่อการศึกษา และพัฒนาชุมชนในท้องถิ่น (CSR) - ช่วงสำรวจ ไม่น้อยกว่าปีละ 1,000,000 บาท - ช่วงผลิต ไม่น้อยกว่าปีละ 2,000,000 บาท 3. เงินให้เปล่าในการผลิต (Production Bonus) บนบก เมื่อขายสะสมถึง 10, 20 และ 30 ล้านบาร์เรล (BOE) จ่ายครั้งละไม่น้อยกว่า 400 ล้านบาท ในทะเล เมื่อขายสะสมถึง 10, 20 และ 30 ล้านบาร์เรล (BOE) จ่ายครั้งละไม่น้อยกว่า 200 ล้านบาท 2. เงินให้เปล่าในการลงนาม (Signature Bonus) แปลงละ ไม่น้อยกว่า 10,000,000 บาท ยกเว้น - แปลง G3, G5 และ G6 (เคยพบและมีพื้นที่ผลิตมาแล้ว) ไม่น้อยกว่า 100,000,000 บาท - แปลง L6 และ L23 (แปลงขนาดเล็ก) ไม่น้อยกว่า 2,000,000 บาท 4. เสนอให้บริษัทไทยที่คณะกรรมการปิโตรเลียมเห็นชอบเข้าร่วมประกอบกิจการในอัตรา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 (Thai Participation) 5. ให้ใช้สินค้าและบริการในประเทศ เป็นอันดับแรก 2
4
แปลงสำรวจที่เปิด เตรียมเปิด 29 แปลง ภาคเหนือ-ภาคกลาง 6 แปลง
ภาคเหนือ-ภาคกลาง 6 แปลง ภาคอีสาน แปลง อ่าวไทย 6 แปลง หลักการกำหนดแปลงสำรวจ แปลงบนบกพื้นที่ไม่เกิน 4,000 ตร.กม./แปลง และ แปลงในทะเลพื้นที่ไม่เกิน 10,000 ตร.กม./แปลง มีศักยภาพปิโตรเลียม หลีกเลี่ยงพื้นที่ใกล้ชายฝั่ง พื้นที่ลุ่มน้ำชั้น 1A เขตรักษาอนุรักษ์สัตว์ป่าและพันธุ์พืช อุทยานแห่งชาติ แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการประเมินเบื้องต้น มูลค่าการลงทุน 5,000 ล้านบาท ปริมาณทรัพยากร (ก๊าซธรรมชาติ 1–5 ล้านล้าน ลบ.ฟุต และ น้ำมันดิบ ล้านบาร์เรล) 4
5
10 ล้านตันต่อปี (1,400 ล้าน ลบ.ฟุตต่อวัน)
เหตุผลความจำเป็น เริ่มขาดแคลนก๊าซ นำเข้า LNG 10 ล้านตันต่อปี (1,400 ล้าน ลบ.ฟุตต่อวัน) นำเข้า (เมียนม่าร์) พื้นที่พัฒนาร่วมฯ ผลิตในประเทศ 1. ประเทศมีความต้องการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 2. ทดแทนปริมาณสำรองก๊าซธรรมชาติที่ลดลงทุกปี 3. ลดการนำเข้า และ 4. ก่อให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง 5
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.