งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก และสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค กับ เกณฑ์คุณภาพ
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 8 อุดรธานี

2 ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก และสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรครายบุคคล
OP PP ข้อมูลที่หน่วยบริการได้ให้การบริการด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคทั้งในและนอกหน่วยบริการ ข้อมูลที่หน่วยบริการได้ให้การบริการผู้ป่วยนอกที่รับบริการทั้งในและนอกหน่วยบริการ

3 ชุดแฟ้มข้อมูลมาตรฐาน
JHCIS PERSON.txt DEATH.txt CHRONIC.txt SERVICE.txt DIAG.txt SURVEIL.txt DRUG.txt PROCED.txt FP.txt EPI.txt NUTRI.txt ANC.txt PP.txt MCH.txt NCDSCREEN.txt CHRONICFU.txt LABFU.txt HosXP HosOS

4 21 แฟ้มข้อมูล ประกอบด้วยข้อมูล ข้อมูลทะเบียน เช่น Home Person
ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก เช่น Service Diag ข้อมูลบริการ PP เช่น ANC FP

5 องค์ประกอบแฟ้มข้อมูล
ข้อมูลทะเบียน Home : ข้อมูลหลังคาเรือน Person : ข้อมูลประชากร Card : ข้อมูลสิทธิหลักประกันสุขภาพ Death : ข้อมูลการตาย Chronic : ข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง Women : ข้อมูลหญิงวัยเจริญพันธุ์

6 องค์ประกอบแฟ้มข้อมูล
ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก Service : ข้อมูลการรับบริการ Diag : ข้อมูลวินิจฉัย Drug : ข้อมูลการให้ยา Proced : ข้อมูลการทำหัตถการ Surveil : ข้อมูลระบาดวิทยา Appoint : ข้อมูลการนัดบริการ

7 องค์ประกอบแฟ้มข้อมูล
ข้อมูลบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ANC : ข้อมูลการรับบริการฝากครรภ์ EPI : ข้อมูลการให้วัคซีน FP : ข้อมูลการวางแผนครอบครัว MCH : ข้อมูลการดูแลแม่ PP : ข้อมูลการดูแลเด็กหลังคลอด Nutri : ข้อมูลโภชนาการ NCD_Screen : ข้อมูลการคัดกรองDM/HT Chronic_fu : ข้อมูลการติดตาม DM/HT Lab_fu : ข้อมูล LAB ผู้ป่วย DM/HT

8 มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ปี 2556
มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล ปี 2556 ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน ก.ค. 2555) PERSON SERVICE ANC DEATH DIAG PP CHRONIC DRUG MCH HOME PROCED EPI CARD SURVEIL FP WOMAN APPOINT NUTRI NCDSCREEN LABFU CHRONICFU

9 รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูล การแก้ไขข้อมูลที่ error
ข้อมูลที่ส่งให้ สปสช. ได้รับการประมวลผล มีสถานะ ผ่าน ไม่ผ่าน (error) ข้อมูลที่ไม่ผ่านสามารถแก้ไขให้ถูกต้อง และส่งใหม่ได้ ข้อมูลที่ตรวจแล้วผ่าน จะไม่รับการ update ใด ๆ ถ้าส่งอีกจะเป็นข้อมูลซ้ำซ้อน และมีผลต่อ Performance

10 เส้นทางข้อมูล สนย./สธ. รพ.สต. สสจ. โรงพยาบาล เขต 8 อุดรธานี

11 การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการ ผู้ป่วยนอก (OP)
(Add on) Drug PID SEQ Date_Serve Clinic Card base CID Service* CID PID SEQ Date_Serve Clinic Diag* PID SEQ Date_Serve Clinic (Add on) Proced PID SEQ Date_Serve Clinic

12 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 2 คุณภาพของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 โรคเป้าหมาย (กลุ่มโรค URI และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน) สูตรการคำนวณ 1). ร้อยละของใบสั่งยาผู้ป่วย URI ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วย URI ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ x 100 จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วย URI ทั้งหมด สูตรการคำนวณ 2). ร้อยละของใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ = จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ x 100 จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด ช่วงข้อมูลตั้งแต่ เมษายน 2556 – 31 มีนาคม 2557

13 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 2 คุณภาพของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 โรคเป้าหมาย (กลุ่มโรค URI และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน) การประเมินร้อยละของใบสั่งยาผู้ป่วย 2 โรคเป้าหมาย ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ คะแนน ≤ 20 5 21-30 3 31-40 1 > 40

14 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 2 คุณภาพของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 โรคเป้าหมาย (กลุ่มโรค URI และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน) แฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้อง SERVICE - ข้อมูลบริการ DIAG - ข้อมูลการวินิจฉัย DRUG - ข้อมูลการจ่ายยา Diag* PID SEQ Date_Serve Clinic Service* CID PID SEQ Date_Serve Clinic Drug PID SEQ Date_Serve Clinic

15 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 2 คุณภาพของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน 2 โรคเป้าหมาย (กลุ่มโรค URI และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน) ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ข้อมูล ICD10 (URI & DIARRHEA) รหัสยา 24 หลัก (Antibiotic) ICD 10 CODE ICD 10 NAME B053 Measles complicated by otitis media (H67.1*) H650 Acute serous otitis media H651 Other acute nonsuppurative otitis media H659 Nonsuppurative otitis media, unspecified H660 Acute suppurative otitis media H664 Suppurative otitis media, unspecified H669 Otitis media, unspecified

16 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 5 ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ7 สูตรการคำนวณ : ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม = จำนวนทารกแรกเกิดมีชีพน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ในช่วงเวลาที่กำหนด x 100 จำนวนทารกเกิดมีชีพทั้งหมด ในช่วงเวลาเดียวกัน ช่วงข้อมูลตั้งแต่ เมษายน 2556 – 31 มีนาคม 2557

17 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 5 ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ7 แฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้อง MCH – ข้อมูลการดูแลแม่ PP – ข้อมูลการดูแลเด็กหลังคลอด ANC - ข้อมูลการฝากครรภ์ PP MPID CID BHOSP MCH CID PID LBORN = 1 LMP BDATE ANC CID GRAVIDA Date_Serv ANCNO

18 เกณฑ์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์ 5 ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight) ไม่เกินร้อยละ7 เงื่อนไข มารดาตั้งครรภ์เดี่ยว อายุครรภ์ตั้งแต่ 37 สัปดาห์ขึ้นไป MCH (BDATE-LMP >= 259 วัน) มีประวัติฝากครรภ์ที่หน่วยบริการอย่างน้อย 1 ครั้ง ANC อย่างน้อย 1 รายการ รับบริการคลอดที่หน่วยบริการนั้น เด็กเกิดมีชีพ MCH (LBORN = 1) น้ำหนักแรกเกิด PP (BWEIGHT<2,500 )

19 คุณภาพการบันทึกข้อมูล
บันทึกข้อมูลทันทีเมื่อมีกิจกรรมการบริการให้ครบถ้วน ให้ความสำคัญกับการวินิจฉัยโรค บันทึกรหัสต่างๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน ปรับปรุงโปรแกรมให้เป็นปัจจุบัน ส่งข้อมูลให้ทันเวลา ตรวจสอบผลการส่งข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ

20 คุณภาพข้อมูล ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา

21 Thank you


ดาวน์โหลด ppt (OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google