งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โดย...นายแพทย์แสวง หอมนาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครนายก

2 1.เข้าใจหลักการของกองทุนฯ
การกระจายอำนาจ (การตัดสินใจ,การบริหารจัดการ) เพิ่มการเข้าถึงบริการส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟูที่บ้าน/ชุมชน สร้างความร่วมมือระหว่างอปท./หน่วยบริการ/ประชาชน สร้างการมีส่วนร่วม/เป็นเจ้าของระบบสุขภาพของประชาชน สร้างนวัตกรรมการดูแลสุขภาพโดยชุมชนและประชาชน เสริมศักยภาพท้องถิ่น ในการสร้างสุขภาพชุมชน

3 1.เข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุน 2.การบริหารจัดการกองทุน
2.คัดเลือกและพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ 1.เข้าใจวัตถุประสงค์ของกองทุน 2.การบริหารจัดการกองทุน 3.อำนาจหน้าที่ของกรรมการกองทุนฯ

4 1.มีการดำเนินงานที่เป็นตัวอย่าง
3.พัฒนากองทุนฯให้เป็นศูนย์เรียนรู้ 1.มีการดำเนินงานที่เป็นตัวอย่าง 2.การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปตามระเบียบ 3.การดำเนินงานต่อเนื่อง

5 ค้นพบปัจจัยแห่งความสำเร็จ
4.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค้นพบปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้นำมีวิสัยทัศน์ด้านสุขภาพ ทีมคณะกรรมการเข้มแข็ง (รู้ เข้าใจ หลักบริหารกองทุน ) เครือข่ายสุขภาพในชุมชนเข้มแข็ง อสม./ผู้สูงอายุ/จิตอาสา บันทึกโปรแกรมการบริหารจัดการกองทุนถูกต้อง ครบถ้วน ค้นหานวัตกรรมเพื่อแก้ปํญหาที่เกิดในพื้นที่

6 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ อบต.พระอาจารย์ อ.องครักษ์

7 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ ที่ว่าการอำเภอเมือง อ
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ ที่ว่าการอำเภอเมือง อ.เมืองนครนายก

8 ด้านผลงาน 5.การประเมินผลกองทุน
1. กองทุนศักยภาพดีเด่น , grade A+ (90-100) แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี , grade A (70-89) แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง , grade B (50-69) แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา, grade C ( ) ** แห่ง

9 5.การประเมินผลกองทุน(ต่อ)
ปัจจัยขัดขวาง - ผู้นำ และ เลขากองทุนมารับงานใหม่ - คณะกรรมการไม่เข้มแข็ง ปัจจัยแห่งความสำเร็จ - ผู้นำ รู้และเข้าใจกองทุน - การทำงานเป็นทีม - การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้องถิ่น สาธารณสุข ประชาชน องค์กรในพื้นที่

10 ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556
6.เยี่ยมสนับสนุน การบริหารจัดการและการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จังหวัดนครนายก ปี 2557 20 มค. 57 ทต.เกาะหวาย อบต.ท่าเรือ 23 มค. 57 ทต.ท่าช้าง อบต.หินตั้ง 7 กพ. 57 ทต.บ้านนา อบต.บ้านพริก 12 กพ. 5 อบต.คลองใหญ่ 17 กพ. 57 อบต.ชุมพล ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น grade A+ (90-100) แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี grade A (70-89) แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา grade C ( ) ** 1 แห่ง โดย..คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดนครนายก & สปสช.เขต 4 สระบุรี

11 สิ่งได้เรียนรู้จากกองทุน....grad b-c
1. ไม่มีการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุนใน 1 ปีที่ผ่านมา 2. คณะกรรมการบริหารกองทุนขาดความเข้าใจเรื่อง 2.1 วัตถุประสงค์การดำเนินงานกองทุน 2.2 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.3 ระเบียบการจ่ายเงินกองทุนฯ 3. ขาดการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารกองทุน และประชาชนในชุมชนในการค้นหา และวางแผนดำเนินงาน ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสุขภาพ ส่งผลให้เงินคงเหลือบัญชีสูง

12 ข้อเสนอแนะจากคณะอนุกรรมการฯ และ สปสช.
1. กองทุนออกแบบมาให้บริหารงานในรูปคณะกรรมการ ดังนั้น 1.1 คณะกรรมการทุกคนควรเข้ารับการอบรมฟื้นฟูทุกต้นปีจากทีม สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ร่วมกับศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ 1.2 ประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 1ครั้ง/ 2 เดือน เพื่อ... อนุมัติโครงการ/ติดตามสรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผล การดำเนินงาน 2. คณะกรรมการและชุมชน เป็นเจ้าของงบประมาณ ดังนั้นต้องมีการ 2.1 จัดเวทีประชาคมค้นหาปัญหา จัดลำดับ จัดทำโครงการ 2.2 อนุมัติโครงการในกรอบวัตถุประสงค์กองทุนและประเภท กิจกรรม( 4 ประเภท)

13 เทศบาลตำบลเกาะหวาย ( 20 มกราคม 2557 )
แลกเปลี่ยน....เรียนรู้...มุ่งสู่เกรด A+ เทศบาลตำบลเกาะหวาย ( 20 มกราคม 2557 )

14 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google