งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้
COMMUNICATION TOOLS เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้ CoP : วิชา 703 เลือกใช้ Blog : Go to know

2 กรอบแนวคิดและแนวทางการในการแลกเปลี่ยนความรู้
CoP : วิชา 703 กรอบแนวคิดและแนวทางการในการแลกเปลี่ยนความรู้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการความรู้(Applications of Information and Communication Technology in Knowledge Management) เนื้อหากระบวนวิชา จำนวนชั่วโมงบรรยาย 1. อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และเอ็กส์ตราเน็ต 2. เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม 3. ระบบจัดการเอกสารแทนความรู้อิเล็กทรอนิกส์และระบบสืบค้นข่าวสาร 4. ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ ระบบระดมความคิดและสนทนาต่อเนื่อง 5. ระบบติดตามงาน ระบบสำรวจและประเมินผล 6. บทเรียนจากประสบการณ์ของผู้เช่ยี วชาญเพื่อแก้ปัญหาองค์กร 7. ระบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 8. ประเด็นด้านจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ที่มา : อาจารย์อัจฉรา คำอักษร, การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการความรู้

3 Gotoknow.org เป็น บล็อก สำหรับแลกเปลี่ยนความรู้บนอินเทอร์เน็ต พัฒนาโดย ดร. จันทวรรณ น้อยวัน และ ดร.ธวัชชัย ปิยะวัฒน์ จากคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เริ่มใช้เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2548 โดยในขณะนั้นมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์อยู่ที่ ซานฟรานซิสโกในสหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะย้ายมาที่เมืองไทยในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ภายใต้การสนับสนุนหลักโดยสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ในเว็บไซต์จะมีการแบ่งย่อยออกเป็นตามกลุ่ม (หลายชุมชน) ตามเนื้อหาที่สนใจ เช่น ชุมชนเบาหวาน ชุมอาหารปลอดภัย ชุมชนการป้องกันโรค นอกจากนี้ ในแต่ละหน้าจะเชื่อมโยงกันตามกลุ่มป้ายเพื่อง่ายต่อการค้นหาและเชื่อมโยงเนื้อหาที่ใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน

4 สร้าง Blog ที่ GotoKnow.org
ไปที่เว็บไซต์ สมัครสมาชิก ล็อกอิน เข้าระบบ ใช้งานหน้าแผงควบคุม สร้างบล็อก ดูรายละเอียดการใช้งานได้ที่ คู่มือ

5 1. เข้าไปที่เว็บ GotoKnow.org

6 2. สมัครสมาชิก

7 3. ล็อกอิน เข้าระบบ KMCAMT

8 4. ใช้งานหน้าแผงควบคุม

9 5. สร้างบล็อก

10 ตัวอย่างหน้าที่เขียนเสร็จ

11

12 32323-dsaf

13 Go to know ข้อดี ข้อเสีย
นั้นมีรูปแบบที่หลากหลายและสามารถสร้าง web page ที่มีสีสันมากกว่า สร้างง่ายกว่าและไม่ยุ่งยาก ผู้ทำมีความรู้พื้นฐานก็สามารถทำได้ ได้ถ่ายทอดประสบการณ์หรือความเชี่ยวชาญบางอย่างให้คนอื่นได้รู้ ยิ่งเขียน (ยิ่งให้) ก็ยิ่งได้ (สมองยิ่งคิดยิ่งใช้ยิ่งดี) เป็นบันทึกช่วยจำให้เราได้ (บางครั้งนึกไม่ออกว่าวันนั้นไปทำอะไรมาก็เข้าไปค้นหาบันทึกได้) บันทึกนี้เมื่อเขียนมากๆ เข้า ก็สามารถรวบรวมเป็นขุมความรู้ (Knowledge Assets) ได้ 1.การที่มีบล็อก และเรื่องใหม่ๆมากมายในแต่ละวัน การนำเสนอเรื่องเดิมซ้ำๆกันอาจเกิดขึ้นได้ 2.การถามและตอบปัญหาบางครั้งไม่เกิดขึ้นทันทีอาจทำให้เกิดความไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้ได้ 3.อนุทินมีความยาวเกินไม่เกิน 1000 ตัวอักษร 4.ไม่สามารถกำหนดหัวข้อการสนทนาได้หรือตั้งกระทู้ได้แต่สามารถแสดงความคิดเห็น 5.ผู้จัดทำต้องมีความรู้พื้นฐานเรื่องการจัดทำเว็บไซต์อยู่บ้าง

14 Go to know ข้อดี สามารถเก็บเรื่องราวทางด้านประวัติศาสตร์หรือวัฒนธรรมขององค์กรได้ ได้ความรู้สึกดีๆ เมื่อมีคนมาอ่านบันทึกของเรา และยิ่งดีมากถ้ามีคนมาเขียนข้อคิดเห็น การหา "หัวข้อเรื่อง" มาเขียนได้ทุกวัน ทำให้เราเป็นคนช่างสังเกต และเป็นนักคิด นักเขียน ฝึกการอธิบายให้คนอื่นได้เข้าใจได้ (ถ้ามีคนอ่านมากแสดงว่าเขาเข้าใจที่เราพยายามสื่อ) ฝึก Storytelling การเล่าเรื่อง โดยเฉพาะ Success story เพื่อเค้นหา Tacit knowledge ของตัวเอง (คนอื่นอาจจะช่วยค้นหาให้)


ดาวน์โหลด ppt เครื่องมือทางเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการความรู้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google