ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คณะกรรมการกำกับและประเมินการใช้ยา
ครั้งที่ 1/2553
2
มูลค่าการสั่งใช้ยา ปี 50 - 52
มูลค่าการสั่งใช้ยา ปี
3
มูลค่าการสั่งใช้ยาเปรียบเทียบ ปี 2550 - 2552
มูลค่าการสั่งใช้ยาเปรียบเทียบ ปี ชื่อยา 2550 2551 2552 Sulperazon 1.5g - 10,009,920 10,636,764 Tienam 500 mg 13,537,440 9,931,006 8,779,811 Tazocin 4.5 g 10,768,485 13,854,015 7,314,720 Levofloxacin inj 1,713,866 3,806,924 3,818,089 Unasyn 3 gm 3,103,668 4,334,057 1,976,406 Meropenem1g 1,288,202 1,176,461
4
มูลค่าการสั่งใช้ยาrestriced ATB เทียบกับ ATB
5
ปริมาณการสั่งใช้ยา restricted ATB ตค 51 – กย 52
6
รายงานความไวของเชื้อ A.baumปี 49-51
7
รายงานความไวของเชื้อ P.aeruginosaปี 49-51
8
รายงานความไวของเชื้อ E. coli ปี 49-51
9
นโยบายการใช้ยาปฏิชีวนะ รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช
นโยบายการใช้ยาปฏิชีวนะ รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช การเลือกใช้ยาปฏิชีวนะ ควรเลือกใช้ยาในบัญชี ก – ค ก่อน ยาปฏิชีวนะบัญชี ง (restricted drug) ควรเลือกใช้เมื่อมีข้อบ่งชี้ที่จำเป็นตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำกับและประเมินการใช้ยากำหนด ยา restricted antibiotics จำนวน ๙ รายการ มีเงื่อนไขการสั่งใช้ยาดังนี้ ๒.๑ แพทย์ Staff เป็นผู้สั่งใช้ยา โดยกรอกใบประกอบการสั่งใช้ยาให้ครบถ้วน ส่งห้องยาพร้อม doctor order sheet กรณีกรอกข้อมูลไม่ครบถ้วนให้ส่งคืน และจ่ายยาให้1 วัน หากไม่ส่งใบประกอบการสั่งใช้ยา ไม่จ่ายยา
10
๒.๒ Antibiotics ที่ให้ด้วยข้อบ่งชี้ empiric therapy ควรมีผล c/s ภายใน 3 วัน หากไม่มีหรือ no growth ให้หยุดยา และส่งเพาะเชื้อใหม่หลังหยุดยา 48 ชั่วโมง ๒.๓ Automatic stop order แจ้งเตือนเมื่อมีการใช้ยาครบ 14 วัน
11
Criteria setting HAP / VAP ควรมีการประเมินตาม Clinical Pulmonary Infection Score (CPIS) คะแนนที่ได้ ถ้ามากกว่า 6 ควรให้ยาปฏิชีวนะสำหรับ HAP/VAPถ้าคะแนนที่ได้น้อยกว่า 6 ควรหยุดการให้ยาปฏิชีวนะ
12
CAP Inpatient : no risk of Pseudo ควรให้ 3rd gen cephalosporin / Macrolides : risk of Pseudo ในผู้ป่วยที่เป็น DM, Neutropenia, Bronchiectasis, on immunosupressive drug ควรเลือกใช้ Ceftazidime 2 gm IV q 8 hr + Ciprofloxacin 400 mg IV q 8 hr or + Aminoglycoside
13
ICU patient :Hemodynamic instable, Respiratory failure, Lobar pneumonia
ควรเลือกใช้ 3rd gen cephalosporin or Fluoroquinolone + Aminoglycoside
14
ESBL : Carbapenam or Aminoglycoside ตาม C/S
E.coli ESBL UTI : Ertapenem Klebsiella ESBL : Imipenem, Meropenem, Ertapenem(UTI)
15
A. baumanii : Cefoperazone+ Sulbactam +/- Colistin IV
Antibiotics ที่ไม่ควรใช้แบบ Empirical ได้แก่ Sulperazon, Invanz, Meropenem, Tienam, Colistin, Fosfomicin, Vancomycin
16
การประเมินเชิงปริมาณ แสดงเป็นร้อยละ แยกตามแผนก
การประเมินเชิงปริมาณ แสดงเป็นร้อยละ แยกตามแผนก การติดเชื้อ ตำแหน่งที่มีการติดเชื้อ รูปแบบการสั่งใช้ยา ระยะเวลา รอบที่ 1 ตค มีค 52 รอบที่ 2 เมย กย 52
17
ร้อยละของการติดเชื้อที่สั่งใช้ยาSulperazon inj
18
ร้อยละของตำแหน่งที่ติดเชื้อ Sulperazon inj
19
ร้อยละของรูปแบบการสั่งใช้ Sulperazon inj
20
ร้อยละของการติดเชื้อที่สั่งใช้ยาTienam inj
21
ร้อยละของตำแหน่งที่ติดเชื้อ Tienam inj
22
ร้อยละของรูปแบบการสั่งใช้ Tienam inj
23
ร้อยละของการติดเชื้อที่สั่งใช้ยาMeropenam inj
24
ร้อยละของตำแหน่งที่ติดเชื้อ Meropenem inj
25
ร้อยละของรูปแบบการสั่งใช้ Meropenam inj
26
ร้อยละของการติดเชื้อที่สั่งใช้ยาLevofloxacin inj
27
ร้อยละของตำแหน่งที่ติดเชื้อ Levofloxacin inj
28
ร้อยละของรูปแบบการสั่งใช้ Levofloxacin inj
30
ร้อยละของการติดเชื้อที่สั่งใช้ยาTazocin inj
31
ร้อยละของตำแหน่งที่ติดเชื้อ Tazocin inj
32
ร้อยละของรูปแบบการสั่งใช้ Tazocin inj
33
ข้อบ่งใช้Tazocin inj ตามบัญชียาหลัก 2551
ใช้ในกรณีที่ใช้ยากลุ่ม 3rd gen ceph ไม่ได้ โดยให้พิจารณาเลือกใช้ก่อนยากลุ่ม carbapenems ใน empiric / specific therapy สำหรับ nosocomial infection เช่น pneumonia , complicated skin and soft tissue infection, intra-abdominal infection และ febrile neutropenia ใช้ในกรณีพิเศษตามคำแนะนำของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคติดเชื้อ
34
การประเมินการใช้ยา Tazocin inj
รอบที่ 1 ตค 51 – มีค 52 รอบที่ 2 เมย 51 – กย 52 รวม จำนวนผู้ป่วย 11 22 33 เงื่อนไข NI(ร้อยละ) NA 9/22 (86) Empiric/ specific (ร้อยละ) (36)/(64) (41)/ (59) ไม่ปรับขนาดยาผู้ป่วยไตบกพร่อง 6
35
ข้อบ่งใช้ Tienam inj,Meropenem inj
ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ 2551 Empiric therapy:Nosocomial infection,suspected from MDR gm neg bacilli or Mixed infection Specific therapy : gm neg resist to 3rd gen Ceph,AMG and sens to Tienam,Meropenem
36
การประเมินการใช้ยา Tienam inj
รอบที่ 1 ตค 51 – มีค 52 รอบที่ 2 เมย 51 – กย 52 รวม จำนวนผู้ป่วย 26 25 51 เงื่อนไข MDR (ร้อยละ) NA 20/25 (80) Empiric/ specific (ร้อยละ) (34) / (66) (52) / (48) ไม่ปรับขนาดยาผู้ป่วยไตบกพร่อง NONE
37
ข้อบ่งใช้ Sulperazon inj ตามบัญชียาหลัก 2551
ใช้สำหรับ nosocomial infection ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียกรัมลบ โดยเฉพาะการติดเชื้อ Acinetobactor spp.
38
การประเมินการใช้ยา Sulperazon inj
รอบที่ 1 ตค 51 – มีค 52 รอบที่ 2 เมย 51 – กย 52 รวม จำนวนผู้ป่วย 29 49 เงื่อนไข A.baum (ร้อยละ) NA 11/49 (22) Empiric/ specific (ร้อยละ) (31) / (69) (26) / (74) ไม่ปรับขนาดยาผู้ป่วยไตบกพร่อง 2
39
การประเมินการใช้ยา Meropenem inj
ติดตามการใช้ยาในผู้ป่วย 2 ราย ไม่มีการใช้ยา Tienam ก่อนการสั่งใช้ Meropenem(Sulper,Cipro+Ceftazidime) VAP , Meningitis
40
การประเมินการใช้ยา Levofloxacin inj
ระยะเวลาการศึกษา พฤษภาคม – กรกฎาคม 2552 จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการประเมินการใช้ยา 91 ราย ชาย 57(62.6%) หญิง 34(37.4%) อายุ มากกว่า 60 ปี 60 ราย (65.9%) ไม่พบการใช้ยาในเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี การวินิจฉัยโรค Pneumonia 76 ราย (83.5%)
41
แบ่งเป็น Pneumonia 38 (41.8%)
HAP (17.6%) VAP (17.6%) CAP (6.6%)
42
Empiric therapy 82 (90.1%) Specific therapy 9 (9.9%) ไม่มีการส่งเพาะเชื้อ 20 (22%) จากผลเพาะเชื้อ 71 ราย พบ no growth 14 ราย gram stain 12 ราย ไม่ทราบความไวของยา 35 ราย Monothrapy 38 (41.8%) , Combination therapy 53 (58.2%)
43
Dosage regimen : 750 mg OD Duration : < 5 day 43 (47.3%) – 14 day 41 (45.1%) >14 day (4.4%) NA (3.3%) Outcome : improve 31 (34.1%) not improve 1 (1.1%) NA (64.8%) dead 48
44
ปริมาณการสั่งใช้ยา Clopidogrel
45
มูลค่าการสั่งใช้ Clopidogrel
46
ปริมาณการสั่งใช้ยา Statin
47
มูลค่าการสั่งใช้ยา Statin
48
ปริมาณการสั่งใช้ยา ARB
49
มูลค่าการสั่งใช้ยา ARB
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.