ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRunrot Trivisvavet ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการแก้ปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จังหวัดสกลนคร
โครงการแก้ปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จังหวัดสกลนคร
2
อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม จังหวัดสกลนคร
4
เส้นทางการดำเนินโครงการแก้ไขปัญหา LBW จ.สกลนคร
-จัดประชุมวิชาการมาตรฐานการดูแลมารดาภาวะครรภ์เสี่ยง/การยับยั้งมารดาคลอดก่อนกำหนด จัดสรรงบให้ 12 อำเภอ แก้ไขปัญหาตามบริบท -คุณภาพANC/Inhibit Preterm สร้างเครือข่ายในรพ.สต. จัดสรรงบ 6 อำเภอ -วิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่ -มีส่วนร่วมแก้ไขกับ อปท. -มี CPG อำเภอนำร่อง ANC 4 ครั้งคุณภาพในรพ.ที่มีสูติแพทย์ (รพร.สว่าง,พังโคน,บ้านม่วง) LBW ลดลง < 9%) ปี52 56 53 54 55 -โพนนาแก้ว Model -ได้แนวคิด/แนวทาง/ตัวอย่างการแก้ไขปัญหา -พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด -ให้มีการคิดค่า BMI หญิงตั้งครรภ์ทุกรายเพื่อคะเนน้ำหนักให้ถูกต้อง -รพสตสายใยรัก -Triferdine ทันที -Calcium 20 wks -Hct<33%FBC 1X1 -โรงเรียนพ่อแม่ -สหวิชาชีพ ทันตะ,โภชนากร,เภสัชกร -อสม.ติดตามเยี่ยมบ้าน สรุปบทเรียน -แลกเปลี่ยนความรู้/ นวตกรรม/เอกสาร/คู่มือ -มี CPG ขั้นพื้นฐานแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด
5
บทเรียนที่ได้รับ * บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลแม่และเด็กมีการพัฒนา
* บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลแม่และเด็กมีการพัฒนา องค์ความรู้/ทักษะความเชี่ยวชาญ/หานวตกรรมเพิ่มเติม * มีการสื่อสารในเครือข่ายทุกระดับ (รพ./รพ.สต./อปท./อสม./ชมรมสายใยรัก/กองทุนตำบล) * มีการคิดวิเคราะห์ข้อมูล/หาแนวทางการดูแลแม่และเด็กให้มีคุณภาพมาตรฐาน * ความเอื้ออาทรณ์จากผู้รับผิดชอบงานต่อผู้รับบริการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.