ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSunisa Yongchaiyudh ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
Corporate Income Tax สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
2
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
1. หลักการภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) เป็นภาษีทางตรง มาตรา 65 ตรี (6) (2) เป็นภาษีอากรประเมิน มาตรา 14 ประกอบมาตรา 38 (3) จัดเก็บเป็นรายรอบระเวลาบัญชี (4) โดยทั่วไปจัดเก็บจากำไรสุทธิทางภาษีอากร ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
3
ภาษีเงินได้นิติบุคคล
2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ได้แก่ “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล” ตามมาตรา 39 (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ต่างประเทศ - สาขา - ประกอบกิจการผ่านตัวแทน (3) กิจการที่ดำเนินเป็นทางค้าหรือหากำไรโดย รัฐบาลต่าง ประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ (4) กิจการร่วมค้า (5) มูลนิธิหรือสมาคม – ไทย ที่มิใช่องค์การสาธารณกุศลตาม มาตรา 47(7)(ข) ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. หลักการภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) เป็นภาษีทางตรง มาตรา 65 ตรี (6) (2) เป็นภาษีอากรประเมิน มาตรา 14 ประกอบมาตรา 38 (3) จัดเก็บเป็นรายรอบระเวลาบัญชี (4) โดยทั่วไปจัดเก็บจากำไรสุทธิทางภาษีอากร ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
4
3. ฐานภาษีและอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
(1) ฐานกำไรสุทธิ (มาตรา 65) (2) ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ - มาตรา % (ภ.ง.ด.52) - มาตรา 66, 76 ทวิ - 5% (ภ.ง.ด.50) - มาตรา 71(1)(3) – 5% - มูลนิธิ/ สมาคม 10%, 2% (ภ.ง.ด.55) (3) ฐานภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70 – 15%,10% ภ.ง.ด. 54 ส่วน ก (ภาษีเงินได้เสร็จเด็ดขาด) (4) ฐานการจำหน่ายเงินกำไรออกจากประเทศไทย มาตรา 70 ทวิ ภ.ง.ด.54 ส่วน ข
5
กิจการ In house Training กิจการค้านำมันกลางทะเล
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ ได้รับ BOI กิจการ In house Training กิจการโรงเรียนเอกชน Y ยกเว้น CIT N Y BIBF, ROH, กิจการค้านำมันกลางทะเล 10% NP Listed Co., ltd SET, MAI 20%,25%,30% NP 30% 25% 15% SMEs 30% NP อื่นๆ
6
วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
1. การเสียภาษีโดยถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย W.T. มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี มาตรา 3 เตรส มาตรา 70 2. การเสียภาษีโดยยื่นรายการประเมินตนเอง ประจำรอบระยะเวลาบัญชี มาตรา ทวิ และ 69 ครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี มาตรา 67 ทวิ ในประเทศ - ภ.ง.ด.53 เว้นแต่ 69 ตรี ต่างประเทศ – ภ.ง.ด.54 ส่วน ก 150 วัน ภ.ง.ด.51 ภ.ง.ด.50,52 และ 55
7
ภ.ง.ด.51 Y N บริษัทจดทะเบียน,สถาบันการเงิน กิจการที่ได้รับอนุมัติให้มี
ผู้สอบทานงบการเงิน Y เสียจากกำไรจริง ในรอบ 6 เดือนแรก N กิจการร่วมค้า บริษัท/ห้างฯ ต่างประเทศ บริษัท/ห้างฯ ไทย อื่นๆ เสียจากกึ่งหนึ่งของประมาณการ กำไรสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชี
8
ภาษีซื้อต้องห้ามกับรายจ่ายต้องห้าม
ภาษีซื้อต้องห้ามที่เป็นรายจ่ายต้องห้าม 1. ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี 2. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่มีรายการไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ตามมาตรา 86/4 3. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับรายจ่าย ต้องห้าม 4. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ที่ไม่มีสิทธิออก ภาษีซื้อที่เครดิตได้แต่ไม่ใช้ = รายจ่ายต้องห้ามด้วย
9
ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้
1. ภาษีซื้อสำหรับรายการดังต่อไปนี้ - ค่ารับรอง - รถยนต์ หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งรายจ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ดังกล่าว - รายจ่ายหรือทรัพย์สินที่ใช้ในกิจการ Non VAT 2. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 3. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปดังต่อไปนี้ - ที่มีรายการเปลี่ยนแปลงแก้ไข - ที่มิได้จัดทำตามหลักเกณฑ์ - ที่ไม่มีรายการต่อไปนี้ – สาขาที่ออก – เลขทะเบียนรถยนต์ - ที่เป็นผลจากการเฉลี่ยภาษีซื้อของกิจการ Non VAT
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.