ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
Introduction to Economics
2
เศรษฐศาสตร์ (Economics)
Okios กฎระเบียบ Normos บ้าน ความขาดแคลน Scarcity การเลือก Choice ค่าเสียโอกาศ Opportunity Cost เศรษฐศาสตร์ (Economics) Introduction to Economics
3
วิธีการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์
ถ้ามีเหตุการณ์เกิดขึ้น ผลที่ตามมาจะเป็นอย่างไร? วิธีการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ 1. เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ (Positive Economics) 2. เศรษฐศาสตร์นโยบาย (Normative Economics) Introduction to Economics เป็นการควบคุมดูแลให้เป็นไปตามที่ต้องการ
4
For Whom? How to Produce? What to Produce?
Introduction to Economics
5
ทรัพยากร Resource ที่ดิน แรงงาน Land Labor ทุน ผู้ประกอบการ Capital
Enterprise ทุน Capital Introduction to Economics
6
สินค้าปกติ (Normal Goods) สินค้าประกอบกัน (Complementary Goods)
สินค้าทดแทนกัน (Substitution Goods) สินค้าฟุ่มเฟือย (Extravag Goods) สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) สินค้าได้เปล่า Free Goods สินค้า และบริการ Goods and Services สินค้าเศรษฐทรัพย์ Economics Goods Introduction to Economics
7
ระบบทุนนิยม ระบบวางแผน ระบบผสม
มีเสรีภาพในธุรกิจ มีกรรมสิทธิในทรัพย์สิน มีกำไรเป็นเครื่องจูงใจ ทรัพย์สิน และผลผลิตเป็นของรัฐบาล ระบบทุนนิยม ระบบวางแผน ระบบผสม Introduction to Economics
8
กระแสหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ
เป็นผู้ผลิต หรือผู้ที่มาจากภาคครัวเรือน (ผู้ประกอบการ) ซึ่งมีหน้าที่รวบรวมเอาปัจจัยการผลิตเพื่อผลิตเป็นสินค้า และบริการ จัดเป็นภาคที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และยังถือเป็นผู้บริโภคสินค้า และบริการ ที่ซื้อมากจากภาคธุรกิจ กระแสหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ ภาครัฐบาล ภาคตลาด หน้าที่เพียงแค่คอยดูแลรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้เหมาะสม หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาคเศรษฐกิจต่าง ๆ ในการบริหารจัดการใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางเลือกต่าง ๆ สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการ รวมถึงปัจจัยการผลิตระหว่างภาคครัวเรือน กับภาคธุรกิจ Introduction to Economics
9
ระบบเศรษฐกิจแบบอย่างง่าย
เป็นระบบเศรษฐกิจแบบแลกเปลี่ยนที่ไม่มีเรื่องเงินเข้ามาเกี่ยวข้อง Introduction to Economics
10
ระบบเศรษฐกิจแบบมีเงินเกี่ยวข้อง
สินค้า และบริการ ค่าสินค้า และบริการ ค่าตอบแทน ปัจจัยการผลิต Introduction to Economics
11
เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve)
สมมุติฐาน (Assumption) 1. สังคมมีการใช้ทรัพยากรอยู่ และต้องสามารถโยกย้ายทรัพยากรได้ 2. ทรัพยากรทั้งหมดถูกจ้างงานเต็มที่ 3. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงความรู้ หรือปริมาณ ในระหว่างการผลิต เส้นความเป็นไปได้ในการผลิต (Production Possibility Curve) แสดงถึงการเลือกใช้ปัจจัย หรือทรัพยากรไปเพื่อผลิตสินค้า และบริการร่วมกันในสัดส่วนต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้สูงสุด Introduction to Economics
12
B A แผนการผลิต A B C D E F เรือดำน้ำ 1 2 3 4 5 รางรถไฟ 15 14 12 9
1 2 3 4 5 รางรถไฟ 15 14 12 9 Introduction to Economics
13
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ปริมาณทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิต
รางรถไฟ เรือดำน้ำ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ปริมาณทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิต เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต A Introduction to Economics
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.