ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNattasut Rojjanasukchai ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
เรวดี ศิรินคร สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
2
ขอบเขตเนื้อหา วัตถุประสงค์ กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ องค์ประกอบมาตรฐาน
ประเด็นสำคัญของงาน/มาตรฐาน การประเมินตนเอง
3
วัตถุประสงค์
4
วัตถุประสงค์ เพื่อทราบการเปลี่ยนแปลงระดับของโรค และสิ่งคุกคามที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมในพื้นที่/ที่ทำงานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน/ผู้ปฏิบัติงาน และช่วยเฝ้าระวังสุขภาพได้
5
กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ
6
กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ
โรคติดต่อ ( communicable Disease ) เช่น ตาม รง. 506 โรคไม่ติดต่อ (Non- Communicable Diseases ) เช่น โรคความดันโลหิตสูง , โรคเบาหวาน , โรคหลอดเลือดสมอง , โรคหัวใจและหลอดเลือด
7
กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Environmental and Occupational Diseases ) เช่น โรคหูเสื่อมจากการประกอบอาชีพ ,โรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช , โรคที่เกิดจากสารประกอบอินทรีย์ระเหย หรือโรคพิษสารทำละลายอินทรีย์ เป็นต้น ภัยสุขภาพและการบาดเจ็บ (Health Hazards and Injuries)
8
กลุ่มโรคและภัยสุขภาพ
ภัยสุขภาพและการบาดเจ็บ (Health Hazards and Injuries ) เช่น อุบัติเหตุทางถนน , วาตภัย ,อัคคีภัย ,คลื่นซึนามิ ,แผ่นดินไหว,อุทกภัย, การจลาจน เป็นต้น
9
มาตรฐาน
10
II – 8. การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
องค์กรมีความมั่นใจว่ามีการติดตามเฝ้าระวังเพื่อค้นหาการเกิดโรคและภัยสุขภาพที่ผิดปกติอย่างมีประสิทธิภาพ และดำเนินการสอบสวนควบคุมโรคไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดได้
11
ประเด็นสำคัญ
12
ประเด็นสำคัญ การติดตาม/เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การบริหารจัดการและทรัพยายกร การเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง การตอบสนองต่อการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและเตือนภัย
13
การติดตามเฝ้าระวังและควบคุม
Reliability & coverage - Epidemiology Surveillance (การติดตาม/เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ) - การควบคุม
14
การบริหารจัดการและทรัพยากร
นโยบาย แผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ ชัดเจน สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ การกำกับดูแล กำหนดนโยบายและมาตรการ วางแผน ประสานงาน ประเมิน ปรับปรุง มีบุคลากรที่มีความรู้และทักษะ จำนวนเหมาะสม มีงบประมาณและทรัพยากรเพียงพอ &การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก สำหรับบุคลากรทุกระดับ.
15
การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวัง
มีการเฝ้าระวังโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อและปัญหาสุขภาพอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ผู้ให้บริการที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล เป็นระบบ ต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ แปลความหมายข้อมูลการเฝ้าระวัง การค้นหาการเพิ่มที่ผิดปกติหรือการระบาดของโรค การติดตามเฝ้าดูสถานการณ์และแนวโน้มของโรค อย่างต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน การคาดการณ์แนวโน้มการเกิดโรคที่สำคัญ เพื่อวางแผนป้องกันควบคุมโรค
16
การตอบสนองต่อการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ
การเตรียมการ (ทีม แผน มาตรการป้องกัน ) การรายงาน และการสอบสวนผู้ป่วยพาะรายย การดำเนินการเมื่อเกิดการระบาด
17
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและเตือนภัย
การจัดทำรายงานสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน การรายงานโรคไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การเผยแพร่สารสนเทศที่เป็นปัจจุบันไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสื่อสาธารณะ
18
โดยสรุป ควรคณะกรรมการฯ/ทีมงานรับผิดชอบ และควรมีการดำเนินเป็นทางการ ในลักษณะงานประจำ ทีม/คณะกรรมการฯ ควรได้รับการสนับสนุนอย่างเต็มที่จากผู้บริหาร
19
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.