ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTotsakan Sirisopa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง
2
Pharmacy One Stop Service
3
เป้าหมาย 2.ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาต้านเอชไอวีมีความ
1.เภสัชกรให้บริการด้านบริบาลเภสัชกรรม แก่ผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อ HIV ร้อยละ 100 2.ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาต้านเอชไอวีมีความ ร่วมมือในการใช้ยามากกว่าร้อยละ 95 . ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาต้านเอชไอวีมีความร่วมมือในการใช้ยามากกว่าร้อย ละ 95
4
ปัญหาและสาเหตุ โรงพยาบาลแพร่ คลินิกวันอังคารมีผู้ป่วยเด็ก ที่ติดเชื้อเอชไอวีจำนวน 54 คน ผู้ป่วยและผู้ดูแล ยังมีความรู้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ โรค การใช้ยา ผลข้างเคียง ที่จะเกิดขึ้น และความสำคัญของการร่วมมือในการใช้ยา
5
กิจกรรมการพัฒนา การประเมินภาวะเด็กติดเชื้อเอชไอวี ก่อนเริ่มยาต้านเอชไอวี ร่วมกับทีมสหสาขวิชาชีพ การเตรียมความพร้อมก่อนการเริ่มยาต้านเอชไอวี การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาต้านเอชไอวี ทั้งก่อนและหลัง พบแพทย์ การจ่ายยาต้านเอชไอวี ให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร การติดตามประเมินผลการใช้ยา การวัดผลการให้บริการ
6
การประเมินภาวะเด็กติดเชื้อเอชไอวีก่อนเริ่มยา ต้านเอชไอวีร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
7
เตรียมฉลากยาที่จะให้บริการจ่ายยา ณ คลินิกวันอังคาร
การเตรียมความพร้อมก่อนการเริ่มยาต้านเอชไอวี จัดเตรียมยาต้านเอชไอวีที่จะใช้ให้พร้อมทั้งชนิดและรูปแบบให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละคน เตรียมฉลากยาที่จะให้บริการจ่ายยา ณ คลินิกวันอังคาร เตรียมข้อมูลประวัติผู้ป่วย ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่จะใช้ เพื่อให้ความรู้แก่ทีมที่ให้การรักษา ผู้ดูแลและเด็ก
8
การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาต้านเอชไอวี ทั้งก่อนและหลังพบแพทย์
การให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาต้านเอชไอวี ทั้งก่อนและหลังพบแพทย์ Pre-counseling ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาต้านเอชไอวี ร่วมกับการนับเม็ดยาที่เหลือของผู้ป่วย ประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาต้านเอชไอวี ค้นหาปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านเอชไอวี บันทึกข้อมูลใน OPD card เพื่อรายงานแพทย์
9
Post-counseling ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับยาต้านเอชไอวีผู้ดูแลและเด็กในการจัดเตรียมยา แบ่งยา ดูดยา การเตือนความจำในการใช้ยา ช่วยวางแผนและจัดตารางเวลารับประทานยา ให้เหมาะสมกับกิจวัตรประจำวันของเด็ก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์ ข้อควรระวังและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาแก่ผู้ดูแลและเด็ก ให้คำแนะนำอื่นๆได้แก่ การเก็บยาที่ถูกต้อง การแบ่งยาเม็ด การปฏิบัติเมื่อลืมรับประทานยา การเตรียมตัว เมื่อเดินทางไกล การทบทวนความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาก่อนส่งมอบยาให้แก่ผู้ป่วย
10
การจ่ายยาต้านเอชไอวี ให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร
การจ่ายยาต้านเอชไอวี ให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร
11
การจ่ายยาต้านเอชไอวีให้แก่ผู้ป่วย ณ คลินิกวันอังคาร
12
การติดตามประเมินผลการใช้ยา
บันทึกข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาทั้งหมดของ ผู้ป่วย เพื่อติดตามผลการใช้ยาต้านเอชไอวี ความร่วมมือในการใช้ยา (Adherence) ใช้เครื่องมือประเมินคือ การนับจำนวนยา และการรายงานการกินยาโดยผู้ดูแลและผู้ป่วย ติดตามผลตรวจอาการทางคลินิก ปริมาณ CD4 และ Viral load ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดจากการได้รับยาต้านเอชไอวีและ ยาอื่นที่เกี่ยวข้อง
13
การวัดผลการให้บริการ
วัดผลของการประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วย โดย การนับจำนวนเม็ดยา เพื่อนำมาคำนวณเปอร์เซ็นต์ความร่วมมือในการใช้ยา อัตราความสม่ำเสมอในการกินยา = จำนวนครั้งที่กินยาตรงเวลา X 100 จำนวนครั้งที่กินยาทั้งหมด วัดผลการให้การบริบาลเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วย โดยการ เก็บปัญหาที่เกิดจากการใช้ยา (DRPs) ของผู้ป่วย ที่ได้รับยาต้านในแต่ละนัดของผู้ป่วย
14
ผลการดำเนินงาน 1. จำนวนผู้ป่วยเด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการบริบาลเภสัช กรรมเท่ากับร้อยละ 100 2. ผู้ป่วยที่ได้รับการบริบาลเภสัชกรรมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 มกราคม 2556 ร้อยละ มีความ ร่วมมือในการใช้ยาต้านเอชไอวีมากกว่าร้อยละ 95
15
ผลการดำเนินงาน 3. ผู้ป่วยขาดยาจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ และผู้ป่วยที่ รับประทานยาไม่ตรงเวลาจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 51.28 4. DRPs ที่เกิดจากการใช้ยาต้านเอชไอวี คือ Non-compliance 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30.77 Dosage too high 2 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13 Dosage too low 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.56 adverse drug reaction 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.56
16
กิจกรรมเยี่ยมบ้าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.