ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWeera Ratanarak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
โดย กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
2
ความหมาย วัตถุประสงค์ / ประโยชน์ แหล่งที่มาของเงินนอกงบประมาณ ประเภทของเงินนอกงบประมาณ การบริหารจัดการและการควบคุม
3
เงินนอกงบประมาณ หมายถึงเงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการ นอกเหนือจากเงินงบประมาณ เงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิกเกินส่งคืน เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน
4
เงินนอกงบประมาณ สะดวกคล่องตัวในการเบิกจ่าย
คล่องตัวในการดำเนินงาน ผ่อนคลายการควบคุม มีการกระจายอำนาจให้แก่ส่วนราชการ การบริหารบรรลุวัตถุประสงค์อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนเสริมภารกิจ กรณีเงินในงบประมาณจัดสรรไม่เพียงพอ
5
เงินนอกงบประมาณ พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.๒๔๙๑ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๐๒ กฎหมายเฉพาะ
6
พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.๒๔๙๑
เงินทุนหมุนเวียน เงินยืมทดรองราชการ เงินฝาก เงินขายบิล
7
เงินทุนหมุนเวียน หมายถึง ทุนที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการซึ่งอนุญาตให้นำรายรับสมทบไว้ใช้จ่ายได้ การจ่ายเงินเป็นทุนหรือทุนหมุนเวียนเพื่อการใดๆ ให้กระทำได้โดยกฎหมาย
8
เงินทุนหมุนเวียน การจัดตั้งเงินทุนหมุนเวียนต้องมีกฎหมายรองรับ
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พระราชบัญญัติเฉพาะ (กฎหมายพิเศษกำหนด) พระราชบัญญัติให้อำนาจกระทรวงการคลังรวมหรือ ยุบเลิกทุนหมุนเวียน พ.ศ.๒๕๔๓
9
เงินทุนหมุนเวียน การแบ่งกลุ่มของทุนหมุนเวียน
ทุนหมุนเวียนเพื่อการให้กู้ยืมแก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ทุนหมุนเวียนเพื่อการจำหน่ายและการผลิตสินค้า ทุนหมุนเวียนเพื่อการบริการ ทุนหมุนเวียนเพื่อการสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ทุนหมุนเวียนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม
10
การบริหารงานแนวใหม่ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์
11
แนวทางการบริหารเงินนอกงบประมาณ
การบริหารที่เน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน กำหนดกลยุทธ์และเป้าหมาย การปรับบทบาทการกำหนดกรอบการควบคุมเป็นการกำกับดูแลโดยนโยบายเพื่อถือปฏิบัติ กำหนดติดตามประเมินผล โดยการกำหนดตัวชี้วัดและผลสำเร็จของงาน การใช้ระบบบริหารงานแบบมีส่วนร่วม การบริหารความเสี่ยงเงินนอกงบประมาณ
12
แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสมัยใหม่
เน้นการดำเนินงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (Result Based) เพื่อให้เกิดการผลักดันกลยุทธ์และการพัฒนา การประเมินผลที่ครอบคลุม - ด้านการเงิน (Financial Measures) - ไม่ใช่การเงิน (Non-Financial Measures)
13
แนวทางการติดตามประเมินผลเงินทุนฯ
เปลี่ยนจากการกำกับดูแล การควบคุมรายจ่าย มาเป็นการควบคุมผลงานของเงินทุนฯ หลักเกณฑ์ตามแนว Balanced Scorecard (BSC)
14
ด้านผู้มีส่วนได้เสีย (ลูกค้า)
Balanced Scorecard ด้านการเงิน ด้านผู้มีส่วนได้เสีย (ลูกค้า) ด้านกระบวนการภายใน วิสัยทัศน์/ภารกิจ ด้านการบริหารพัฒนา
15
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล - 3’E - Good Governance มีระบบภูมิคุ้มกัน Internal Control
16
Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.