งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง
แผนการดำเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงใหม่) ๘ มีนาคม ๒๕๕๕

2 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ. ศ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๕๔ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔๒ ก วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔ และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ซึ่งกรุงเทพมหานครได้ดำเนินการประกาศการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งแล้ว ตั้งแต่วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๔ ที่มา

3 การประกาศใช้กฏหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร
และบุคลากรกรุงเทพมหานคร ทำให้อำนาจหน้าที่ในการพิจารณาเกี่ยวกับ การบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรุงเทพมหานครเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้

4 มาตรา ๑๔ ก.ก. มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
ให้คำแนะนำแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดระบบราชการกรุงเทพ และการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากร ๔. ให้ความเห็นชอบการตั้ง ยุบ หรือเปลี่ยนแปลงสำนัก หรือการแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานของกรุงเทพมหานคร ๕. ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร

5 มาตรา ๑๘ อ.ก.ก. สามัญข้าราชการสามัญ
มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ เสนอแนะต่อ ก.ก.เพื่อให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงาน การจัดและการพัฒนาหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร ๓. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างหน่วยงานในกรุงเทพมหานคร ๕. พิจารณากำหนดตำแหน่ง จำนวน ประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับของตำแหน่งของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและความประหยัดเป็นหลัก

6 มาตรา ๒๔ อ.ก.ก. สามัญหน่วยงาน
มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ เสนอแนะต่อ ก.ก.เพื่อให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงาน การจัดและการพัฒนาหน่วยงาน ๓. พิจารณาการเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการในหน่วยงาน

7 มาตรา ๒๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
เรียกโดยย่อว่า “ สำนักงาน ก.ก.” มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับการจัดระบบราชการกรุงเทพมหานครเพื่อเสนอ ก.ก. ๓. เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หน่วยงานและส่วนราชการในสังกัดกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร

8 มาตรา ๒๙ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร
เรียกโดยย่อว่า “ สำนักงาน ก.ก.” มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ต่อ) ๔. พัฒนา ส่งเสริม วิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร ๖ ดำเนินการเกี่ยวกับแผนกำลังคนของข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร

9 กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง
๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

10 แผนการดำเนินการปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร
พ.ศ.๒๕๕๕ พ.ศ.๒๕๕๓ แผนการปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงานกรุงเทพ มหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง ของหน่วยงานกรุงเทพ มหานคร (ฉบับปรับปรุง ) ปรับเปลี่ยน ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับ พรบ.ระเบียบข้าราชการ กทม.ฯ พ.ศ. ๒๕๕๔ ระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒ ระยะที่ ๓

11 ความเป็นมา หนังสือสำนักงาน ก.ก.ที่เกี่ยวข้อง ๓ ฉบับ ฉบับที่ ๑
หนังสือสำนักงาน ก.ก.ที่เกี่ยวข้อง ๓ ฉบับ ฉบับที่ ๑ หนังสือสำนักงาน ก.ก. ที่ กท ๐๓๐๔/๓๔๓๙ ลงวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เรื่อง แผนการปรับปรุงโครงสร้างและ อัตรากำลัง ๓ ปีของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร

12 แผนยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบราชการกรุงเทพมหานคร
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ๑ ปรับปรุงระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มี ความเหมาะสม ๒. ข้าราชการมีหลักประกันความเป็นธรรม และสอดคล้องกับกับการบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ ๓ พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสูง มี คุณธรรมมีขวัญกำลังใจและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี

13 กลยุทธ์ ให้ทบทวนกรอบหรือแผนอัตรากำลังเชิงรุก โดยมุ่งเน้นการลดขนาดองค์กรและจำกัดอัตรากำลังเพื่อรองรับการปรับรูปแบบการบริหารราชการในแบบกำกับการจ้างภายนอก (OUTSOURCE) ๒. การสนับสนุนการดำเนินงาน (SUBSIDY) ของเอกชน ประชาชนและหน่วยงานอื่น

14 ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร
จัดทำแผน ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๕) ตามกรอบและทิศทางที่คณะกรรมการกรุงเทพมหานครกำหนด

15 เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ การกระจาย อำนาจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
แผนบริหารราชการกรุงเทพมหานคร ๒๕๕๒-๒๕๕๕ แผนการปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร มติ ก.ก. อ.ก.ก.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงโครงสร้างและการจัดอัตรากำลัง มาตรการ ปรับขนาด กำลังคน ของ กทม. การกระจาย อำนาจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ

16 การดำเนินงานของสำนักการแพทย์ และ สปร. ( มิถุนายน ๒๕๕๓- มีนาคม ๒๕๕๔ )
การดำเนินงานของสำนักการแพทย์ และ สปร. ( มิถุนายน ๒๕๕๓- มีนาคม ๒๕๕๔ ) ๑. การจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี ( ปีงบประมาณ ๒๕๕๓-๒๕๕๕) ของสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ๒. การกำหนดสมรรถนะเฉพาะตำแหน่งของ ๕ สายงานหลัก ได้แก่แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ เภสัชกร และนักเทคนิคการแพทย์

17 ๓. การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรใน ๕ สายงานหลัก แผนพัฒนาบุคลากร ๓ ปี ( ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ) - แผนพัฒนาบุคลากร ปี ๒๕๕๕ วางระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน และ แนวทางเพื่อการนำสู่ทางปฏิบัติของสำนัก การแพทย์ กรุงเทพมหานคร ใน ๕ สายงานหลัก ๕. นำเสนอแนวทางการสร้างขวัญกำลังใจ แก่บุคลากรของสำนักการแพทย์

18 ฉบับที่ ๒ หนังสือสำนักงาน ก.ก. ที่ กท ๐๓๐๔/ ๑๐๑๖ ลงวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๔ เรื่อง ให้สำนักงาน ก.ก.ชะลอการจัดทำแผน ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร เนื่องจาก อยู่ระหว่างดำเนินการปรับเปลี่ยนระบบ บริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยในส่วน ของหน่วยงาน / ส่วนราชการให้ดำเนินการ ทบทวนภารกิจ บทบาท อำนาจหน้าที่ต่อไป

19 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร
เมื่อมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร และบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔ ชะลอแผน

20 การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ( เมษายน ๒๕๕๔ - พฤศจิกายน ๒๕๕๔ )
การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ( เมษายน ๒๕๕๔ - พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ) ๑. ชะลอการจัดทำแผนปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร ๒. ดำเนินการปรับเปลี่ยนระบบบริหาร ทรัพยากรบุคคลเพื่อรองรับพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและ บุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔

21 ๓. ดำเนินการประกาศการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
๓. ดำเนินการประกาศการจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง การจัดตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญเข้าประเภทตำแหน่ง สายงาน และระดับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ๕. ดำเนินการแล้วเสร็จตั้งแต่วันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๔

22 กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง
๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

23 ฉบับที่ ๓ หนังสือสำนักงาน ก.ก. ที่ กท ๐๓๐๔/ ๓๔๓๐ ลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ เรื่อง ขอปรับแผนการดำเนินการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง ๓ ปี ของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร ให้ดำเนินการตามแผนการปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ให้แล้ว เสร็จ ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕

24 การปรับวิธีดำเนินการ
แผนปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี เพิ่ม รูปแบบการดำเนินงาน เป็น ที่ปรึกษา และให้ ความรู้แก่ หน่วยงาน ปรับบทบาทของสำนักงาน ก.ก. กำหนดให้มีการจ้างบุคคลภาย นอกทำหน้าที่ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะ ตามกลุ่มภารกิจ ๗ กลุ่ม ๐กลุ่มภารกิจด้านสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม ๐ สำนักการแพทย์ ๐ สำนักอนามัย ๐ สำนักสิ่งแวดล้อม ๐ ฝ่ายรักษาความสะอาด และสวนสาธารณะ

25 การปรับปรุงวิธีดำเนินการ
ตามแผนปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปีของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนแปลงระยะเวลาดำเนินการ เป็น ตั้งแต่ เดือนธันวาคม ๒๕๕๔ - เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕

26 ๒. ปรับรูปแบบการดำเนินการเป็นลักษณะของ
๒. ปรับรูปแบบการดำเนินการเป็นลักษณะของ กลุ่มภารกิจ จำนวน ๗ กลุ่มภารกิจ ๐ กลุ่มภารกิจด้านยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ๐ กลุ่มภารกิจด้านสังคม การศึกษาและวัฒนธรรม ๐ กลุ่มภารกิจด้านการปกครองและรักษาความ สงบเรียบร้อย ๐ กลุ่มภารกิจด้านเศรษฐกิจ ๐ กลุ่มภารกิจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ๐ กลุ่มภารกิจด้านโครงสร้างพื้นฐานและ สาธารณูปโภค ๐ กลุ่มภารกิจด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

27 ๓. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อรับผิดชอบ. ดำเนินการในแต่ละกลุ่มภารกิจ ทบทวน
๓. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อรับผิดชอบ ดำเนินการในแต่ละกลุ่มภารกิจ ทบทวน และปรับปรุงภารกิจ อำนาจหน้าที่ของ หน่วยงานตามกลุ่มภารกิจ ๐ จัดทำแผนปรับปรุงโครงสร้างและ อัตรากำลังของหน่วยงาน ๔. ปรับบทบาทของหน่วยงาน/ ส่วนราชการที่ รับผิดชอบการบริหารทรัพยากรบุคคล ของกรุงเทพมหานครให้มีความ เหมาะสม สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่ ตามกฏหมายใหม่

28 ๔. จ้างที่ปรึกษาที่มีความรู้ ความชำนาญ และ
๔. จ้างที่ปรึกษาที่มีความรู้ ความชำนาญ และ ประสบการณ์ด้านการบริหารทรัพยากร บุคคล เพื่อช่วยให้คำปรึกษาและ ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานของแต่ละ กลุ่มภารกิจ จำนวน ๕ คน

29 กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง
๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

30 แนวทางการกำหนดตำแหน่งของกรุงเทพมหานคร
๑. ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง ๓ ปี ๒. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓ มาตรการปรับขนาดกำลังคน ๔. มติคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร

31 ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง 3 ปี
ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง 3 ปี ๐ ปรับปรุงโครงสร้างอำนาจหน้าที่และการจัด อัตรากำลังของ กทม. ให้ เหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจในปัจจุบัน ๐ กระจายอำนาจและหน้าที่ โดยคำนึงถึงความ มีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และอำนวย ความสะดวกแก่ประชาชน ๐ จัดระบบงานและวิธีปฏิบัติราชการให้สั้น ลด ขั้นตอน ส่งเสริมการสร้าง เครือข่าย

32 ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง 3 ปี
ทิศทางในการจัดทำแผนปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลัง 3 ปี ๐ จัดอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ แผนงาน/โครงการของ หน่วยงาน โดยยึดหลักไม่เพิ่มอัตรากำลังแต่ ใช้วิธีการเกลี่ยอัตรากำลัง รวมทั้ง การนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ๐ การจัดทำหลักเกณฑ์หรือมาตรฐานกำหนด จำนวนตำแหน่ง และระดับ ตำแหน่ง เพื่อ รองรับการมอบอำนาจตาม พ.ร.บ. ใหม่

33 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๕ บัญญัติไว้ว่า “ในการจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้างที่นำมาจากเงินรายได้ ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใดนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งจะกำหนดสูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นไม่ได้”

34 มาตรการปรับขนาดกำลังคนของ
มาตรการปรับขนาดกำลังคนของ กรุงเทพมหานคร (ตำแหน่งข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ) ๐ ไม่เพิ่มอัตรากำลังในภาพรวมทุก หน่วยงาน ยกเว้นกรณีจำเป็น อันมิ อาจหลีกเลี่ยงได้ เนื่องจาก ๑. มีการจัดตั้งหน่วยงานหรือส่วน ราชการขึ้นใหม่ หรือ

35 ๒. เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งไว้แล้วที่มีความ
๒. เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งไว้แล้วที่มีความ จำเป็นต้องเพิ่มอัตรากำลัง ซึ่งต้องมี ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ ๐ เป็นหน่วยงานหรือเป็นส่วนราชการที่ทำ หน้าที่ให้บริการประชาชนโดยตรง (เป็นงานบริการที่หน่วยงานหรือส่วน ราชการรับคำขอจากส่วนราชการโดยตรง เช่นประชาชนยื่นคำขอทำบัตรประชาชน หรือประชาชนมาขอรับการตรวจรักษาที่ ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือโรงพยาบาล เป็นต้น)

36 ๐ เป็นหน่วยงานหรือส่วนราชการที่. จะต้องดำเนินงานตามนโยบาย
๐ เป็นหน่วยงานหรือส่วนราชการที่ จะต้องดำเนินงานตามนโยบาย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือ ได้รับการถ่ายโอนภารกิจ จาก ราชการส่วนกลาง หรือตามที่ กฎหมายกำหนด หากไม่ ดำเนินการจะทำให้เกิดผลเสียหาย แก่กรุงเทพมหานคร

37 โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
๑. ให้เกลี่ยอัตรากำลังก่อน ๒. หากยังไม่เพียงพอให้หน่วยงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน หรือใช้การจ้างงานที่หลากหลาย

38 ๓. หากดำเนินการแล้วยังมีอัตรากำลัง. ไม่เพียงพออีก ให้เสนอเหตุผลความ
๓. หากดำเนินการแล้วยังมีอัตรากำลัง ไม่เพียงพออีก ให้เสนอเหตุผลความ จำเป็น ให้คณะกรรมการจัดสรร กำลังคนของ กรุงเทพมหานคร พิจารณาจัดสรรอัตราว่างจาก หน่วยงานอื่นมาให้ ๔. หากคณะกรรมการฯ ไม่สามารถ จัดสรรอัตราให้ได้ หรือ จัดสรรแล้ว ยังมีอัตรากำลังไม่เพียงพอ จึงจะ สามารถนำเสนอขอเพิ่มกรอบ อัตรากำลังได้

39 มติคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร
มติคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร ๐ ตั้งแต่วันที่ ๒๖ ก.ย. ๒๕๓๗ กำหนดให้ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล เป็นตำแหน่ง นายแพทย์ ๘ หรือ ๙ วช. ๐ กรณียกฐานะโรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาล ทุติยภูมิชั้นสูง ซึ่งกำหนดตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจากตำแหน่ง นายแพทย์ ๘ หรือ ๙ วช. เป็นตำแหน่ง นายแพทย์ ๙ ใช้แนวทางการพิจารณา ดังนี้

40 พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕
(มาตรา ๔๐ และมาตรา ๔๒ (๙) (ง) ) ๒) เหตุผลความจำเป็น ๐ ดูนโยบายและเป้าหมาย ๐ ความจำเป็นในการให้บริการประชาชน อย่างทั่วถึง ๐ การส่งเสริมประสิทธิภาพในการรักษา จำเป็นต้องมีการรักษาในระดับทุติยภูมิ ชั้นสูง

41 ๓) ความพร้อมด้าน Demand และ Supply
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณกรอบ อัตรากำลัง โดยพิจารณาจาก Work Load และหลักเกณฑ์ที่ได้รับอนุมัติจาก ก.ก. ๕) พิจารณาเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่ได้ กำหนดไปแล้ว ๖) พิจารณาจากประโยชน์ในการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลัง ประโยชน์ต่อประชาชน - ประโยชน์ต่อกรุงเทพมหานคร - ประโยชน์ต่อข้าราชการ

42 มติ ก.ก. มติ ก.ก. ครั้งที่ ๑/๒๕๔๙ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๙
มติ ก.ก. ครั้งที่ ๑/๒๕๔๙ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๙ ๐ ให้กำหนดตำแหน่งในสายงานแพทย์ เป็นตำแหน่งในระดับ ๔-๖ หรือ ๗ วช. หรือ ๘ วช. หรือ ๙ วช.

43 มติ ก.ก. ครั้งที่ ๑/๒๕๔๙ วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๔๙
อนุมัติเป็นหลักการเกี่ยวกับการกำหนด ตำแหน่งเพื่อใช้กับทุกหน่วยงาน ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ดังนี้ ๑) ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๑ ๐ กลุ่มงานธุรการ หรือบริการทั่วไป และกลุ่ม งานที่ปฏิบัติภารกิจหลักของส่วนราชการ ให้กำหนดเป็นระดับ ๑-๓ หรือ ๔หรือ ๕ ๐ กลุ่มงานเทคนิคเฉพาะด้านและกลุ่มงานที่ใช้ ทักษะและความชำนาญเฉพาะตัว ให้กำหนด เป็นระดับ ๑-๓ หรือ ๔หรือ ๕ หรือ ๖

44 ๒)ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๒
ให้กำหนดเป็นระดับ ๒-๔หรือ ๕ หรือ ๖ ๓)ในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ ๓ ให้กำหนดเป็นระดับ ๓-๕ หรือ ๖ ว หรือ ๗ ว ๔) ตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายหรือเทียบเท่า ให้พิจารณาใน ฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ มีประสบการณ์เฉพาะตัวด้วย โดยกำหนดเป็นตำแหน่งระดับ ๖หรือ ๗ ว หรือ ระดับ ๗ หรือ ๘ ว หรือระดับ ๗ วช. หรือ ๘ วช. แล้วแต่ กรณี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับภารกิจของแต่ละ ส่วนราชการโดยให้สำนักงาน ก.ก. เป็นผู้พิจารณา กำหนดตำแหน่งดังกล่าวตามลักษณะงานของ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบกาณ์เฉพาะตัวต่อไป

45 กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง
๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

46 การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร

47 เปลี่ยนสายงาน และปรับระดับสูงขึ้น
หน่วยงาน เดิม ตำแหน่งเพิ่มใหม่ ปรับระดับ สูงขึ้น เปลี่ยน สายงาน เปลี่ยนสายงาน และปรับระดับสูงขึ้น ขอกำหนด รวม ส่วนกลาง - กลุ่มงานสื่อสารองค์กร - กลุ่มงานการพยาบาล 5 - 2 4 7 1. สล. 63 6 11 2. กว. 24 10 34 3 3. รพก. 863 529 1,392 39 4. รพต. 899 629 1,528 69 12 5. รพจ. 879 649 75 6. รพท. 238 102 340 21 7. รพว. 237 113 350 18 1 8. รพล. 204 (+32)* 142 346 (+32) 13 9. รพร. 258 140 398 10. รพส. 396 91 487 16 11. ศบฉ. 310 321 4,077 2,631 6,708 269 14 36

48 แนวทางการจัดกรอบอัตรากำลัง(การจัดลำดับความสำคัญ) ๑ ตามลักษณะงาน ๒ ตามหน่วยงาน ๓ ตามสายงาน ๔ ตามสาขาวิชา

49 จัดตามระดับการให้บริการของหน่วยงาน
จัดตามลักษณะงาน จัดตามระดับการให้บริการของหน่วยงาน 1. มีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นใหม่และจำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 2. ตามนโยบายสำคัญของรัฐบาลหรือ ครม. กระทรวงมหาดไทยหรือยุทธศาสตร์แผนพัฒนาราชการของ กทม. และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของสำนักการแพทย์ หรือตามมติ ก.ก. 3. เป็นงานตามแผนงาน / โครงการที่ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการและมีเงินงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแล้ว 1. โรงพยาบาลที่เป็น Excellent Center โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 2. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบที่ให้บริการประชาชนครอบคลุมพื้นที่ กทม. โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ โรงพยาบาลลาดกระบัง กทม. โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลสิริณธร โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 3. งานตามความต้องการของสถานการณ์บ้านเมือง ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน กทม. (ศูนย์เอราวัณ) 4. งานตามบริหารภาครัฐแนวใหม่ สนง.ยุทธศาสตร์ 5. งานปกติหรืองานสนับสนุนกิจกรรมพิเศษ สนง.เลขานุการ

50 จัดตามสายงาน จัดตามสาขารอง
1. กลุ่มงานวิทยาศาสตร์สุขภาพและการแพทย์ 8 สายงาน - นายแพทย์ - ทันตแพทย์ - เภสัชกร - พยาบาลวิชาชีพ - นักรังสีการแพทย์ - นักกายภาพบำบัด - นักเทคนิคการแพทย์ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. กลุ่มงานวิชาชีพ 3. กลุ่มงานวิชาการทั่วไป 4. กลุ่มงานเทคนิคเฉพาะด้าน 5. กลุ่มงานธุรการหรือบริการทั่วไป 6. อื่นๆ ตัวอย่าง : สายงานแพทย์ 1. สาขาหลัก 5 สาขา อายุรกรรม ศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก สูติ-นรีเวชกรรม กุมารเวช 2. สาขารอง เวชศาสตร์ฉุกเฉิน วิสัญญี รังสีวิทยา โสต-ศอ-นาสิก-ลาริงซ์ จักษุวิทยา จิตเวช เวชศาสตร์ฟื้นฟู เวชศาสตร์ชุมชน

51 แนวคิดการทำงานในลักษณะเครือข่าย
รพว. รพ.เอกชน รพ.เอกชน รพ.เอกชน รพร. รพท. รพล. รพส. รพ.รัฐ รพ.รัฐ รพ.เอกชน

52 ข้อเสนอการกำหนดตำแหน่งและทางก้าวหน้าของ ตำแหน่งในสายงานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและการแพทย์ 5 สายงาน (ไม่รวมพยาบาลวิชาชีพ) แนวทางที่ 1 : เป็นระดับ 8 ว หรือ 8 วช. ได้ทุกตำแหน่ง ตำแหน่งเภสัชกร นักรังสีการแพทย์ นักกายภาพบำบัด นักเทคนิคการแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ แนวทางที่ 2 : เป็นระดับ 8 ว หรือ 8 วช. ได้ ในฐานะหัวหน้าทีม / กลุ่ม ในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์

53 กลุ่มงาน… ทีมที่ 1 ทีมที่ 2 ทีมที่ 3 (ในฐานะหัวหน้าทีม/ชุด)
ตำแหน่งระดับ8ว. หรือตำแหน่งระดับ 8 วช. (1) (ในฐานะหัวหน้าทีม/ชุด) ตำแหน่งระดับ 8ว. -หรือตำแหน่งระดับ 8วช. (X) (ในฐานะผู้มีประสบการณ์เฉพาะตัว) - ระดับ 3-5 หรือ6ว.หรือ 7ว หรือระดับ3-5หรือ6ว.หรือ 7วช. (y)

54 การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ของสำนักการแพทย์

55 แนวทางการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ของสำนักงาน ก.ก.
จัดอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภารกิจ หน้าที่ความรับผิดชอบ แผนงาน/โครงการ ๐ ใช้กำลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๐ ยึดหลักไม่เพิ่มอัตรากำลัง 2. มาตรการปรับขนาดกำลังคนของกรุงเทพมหานคร ๐ ไม่เพิ่มอัตรากำลังเว้นแต่ ๐ หน่วยงานตั้งใหม่ ๐ หน่วยงานเดิมที่จำเป็นต้องเพิ่มอัตรากำลัง

56 หน่วยงานเดิมที่จำเป็นต้องเพิ่มอัตรากำลัง
เป็นหน่วยงานที่ให้บริการ ประชาชนโดยตรง หน่วยงานที่ต้องดำเนินการตาม นโยบายผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร หากไม่ดำเนินการจะทำให้เกิด ความเสียหาย

57 แนวทางการดำเนินการกำหนดตำแหน่ง
เกลี่ยอัตรากำลังภายในหน่วยงานก่อน ไม่เพียงพอ ปรับวิธีการทำงานโดยการจ้างงานที่หลากหลาย ไม่เพียงพอ เสนอเหตุผลความจำเป็นให้คณะกรรมการจัดสรรกำลังคนของ กทม. พิจารณาจัดสรรอัตราว่างจากหน่วยงานอื่นมาให้ หากไม่สามารถจัดสรรได้ เสนอเพิ่มกรอบอัตรากำลังโดยมีเงื่อนไข

58 เงื่อนไขการพิจารณาเพิ่มกรอบอัตรากำลัง
หน่วยงานจะได้รับกรอบอัตรากำลังไม่เกิน ร้อยละ 50 ของอัตรากำลังที่สำนักงาน ก.ก. วิเคราะห์ได้ สายงานสนับสนุนเมื่อวิเคราะห์แล้วจะไม่ กำหนดกรอบอัตรากำลังเป็นข้าราชการ โดยสำนักงาน ก.ก. จะกำหนดจำนวน ผู้ปฏิบัติงานมาให้และให้หน่วยงานใช้วิธี จ้างเหมาเอกชนดำเนินการ

59 แนวทางการใช้คนในองค์กรภาครัฐ
Core function Non-Core function Supporting function 20% ข้าราชการ 100% ข้าราชการ 50% ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างตามสัญญาจ้าง Outsourcing Contract Out ท้องถิ่น เอกชน PO ข้าราชการ 50% ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างตามสัญญาจ้าง Outsourcing Contract Out ท้องถิ่น เอกชน PO

60 การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
จัดทำตามแนวทางการจัดลำดับความสำคัญ จัดทำตามแนวทางที่สำนักงาน ก.ก. กำหนดไว้ สำหรับกรอบอัตรากำลังในโรงพยาบาล ควรกำหนด โดย ๐ ภารกิจหลักควรกำหนดร้อยละ 90 ของกรอบอัตรากำลังที่วิเคราะห์ได้ ๐ ภารกิจรองควรกำหนดร้อยละ 50 ของกรอบอัตรากำลังที่วิเคราะห์ได้

61 สรุปกรอบอัตรากำลัง หมายเหตุ : รวม 3 ปี ควรเพิ่ม 1,371ตำแหน่ง หน่วยงาน
เดิม คำขอ กรอบปีที่ 1 กรอบปีที่ 2 กรอบปีที่ 3 เพิ่ม/ลด รวม สำนักการแพทย์ 4,077 (+32) +2,939 7,016 (+32) +1,085 5, (+32) +186 5,350 (+32) +100 5,448 (+32) หมายเหตุ : รวม 3 ปี ควรเพิ่ม 1,371ตำแหน่ง

62 -กลุ่มงานสื่อสารองค์กร -กลุ่มงานการพยาบาล สำนักงานเลขานุการ
หน่วยงาน เดิม คำขอ กรอบปีที่ 1 กรอบปีที่ 2 กรอบปีที่ 3 เพิ่ม/ลด รวม ส่วนกลาง -กลุ่มงานสื่อสารองค์กร -กลุ่มงานการพยาบาล 5 +1 +2 +4 6 2 4 +3 3 สำนักงานเลขานุการ 63 สำนักงานยุทธศาสตร์ (กองวิชาการเดิม) 24 +11 35 +6 30 34 ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉิน (ศูนย์เอราวัณ) 11 +310 321 +65 76 +12 88 โรงพยาบาลกลาง 863 +525 1,388 +117 980 +33 1,013 +14 1,027 โรงพยาบาลตากสิน 899 +629 1,528 +275 1,174 +54 1,228 +39 1,267 โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ 879 +708 1,587 +240 1,119 +43 1,162 +28 1,190 โรงพยาบาลสิรินธร 396 +291 687 +134 530 +21 551 +8 559 โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ 237 +118 355 +74 311 317 +7 324 โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ 258 +150 408 +77 335 339 โรงพยาบาลลาดกระบัง กทม. 204 (+32) +98 (+32) +44 248 (+32) 252 (+32) 255 (+32) โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ 238 +102 340 +47 285 289 4,077 (+32) +2,939 7,026 (+32) +1,085 5,162 +186 5,350 +100 5,448

63 กรอบการนำเสนอ ๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง
๑ ความเป็นมา ๒ แผนการปรับปรุงโครงสร้าง และอัตรากำลังของหน่วยงาน กรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุง) ๓ แนวทางการกำหนดตำแหน่งของ กรุงเทพมหานคร ๔ สรุปการจัดทำแผนอัตรากำลัง ๓ ปี สำนักการแพทย์ ๕ สิ่งที่ต้องดำเนินการต่อไป

64 แผนการทำงาน การประชุมครั้งที่ ๑ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๕
๐ การอภิปรายแนวทางการปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลังของ กรุงเทพมหานคร ๐ ชี้แจงแผนการดำเนินงาน ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง (ปรับปรุงใหม่)

65 แผนการทำงาน (ต่อ) การประชุมครั้งที่ ๒ วันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๕
๐ การทบทวนการปรับปรุงโครงสร้าง และกำหนดกรอบอัตรากำลังที่ เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากแผนเดิม (จากปริมาณงาน ปี ๒๕๕๔ ) ของหน่วยงานในส่วนกลางของ สำนักการแพทย์ การประชุมครั้งที่ ๒

66 แผนการทำงาน (ต่อ) การประชุมครั้งที่ ๓ วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๕
วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๕ ๐ การทบทวนการปรับปรุงโครงสร้าง และกำหนดกรอบอัตรากำลังที่ เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากแผนเดิม (จากปริมาณงาน ปี ๒๕๕๔ ) ของ โรงพยาบาล ๘ แห่งใน สำนักการแพทย์ การประชุมครั้งที่ ๓

67 แผนการทำงาน(ต่อ) การประชุมครั้งที่ ๔ วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๕
วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ การพิจารณาทบทวนการปรับปรุง โครงสร้างและอัตรากำลังของ สำนักการแพทย์ ตามข้อเสนอแนะ ของ อ.ก.ก.สามัญข้าราชการสามัญ และ ก.ก.

68 แผนการทำงาน (ต่อ) การประชุมครั้งที่ ๕ วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕
การประชุมครั้งที่ ๕ วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕ การดำเนินการปรับปรุงโครงสร้าง และการแบ่งส่วนราชการอัตรากำลัง ตามแผนการปรับปรุงโครงสร้างฯ ที่ได้รับอนุมัติจาก ก.ก.

69 แผนการทำงาน (ต่อ) การประชุมครั้งที่ ๖ วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๕
การประชุมครั้งที่ ๖ วันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๕ การปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ ของสำนักงาน ก.ก.

70 สิ่งที่คณะทำงานต้องดำเนินการต่อไป
๑. ขอปริมาณงานย้อนหลัง ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ เพิ่มเติม ๒. คำนวณกรอบอัตรากำลังเพิ่มเติม จาก ปริมาณงาน ปี ๒๕๕๔ ในช่อง ปีที่ ๓ ในตารางคำนวณอัตรากำลัง ตามแผนอัตรากำลัง ๓ ปี ๓. ส่งผลการคำนวณกรอบอัตรากำลังให้ การเจ้าหน้าที่ ภายในวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๕

71 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt ปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google